星期三, 九月 11, 2019

Khati

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 4/531/9  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระอุบาลีเถระจึงกล่าวว่า เมื่อกาลเที่ยงวันล่วงไปแล้ว จนถึงอรุณขึ้น ชื่อว่า
วิกาล แม้เวลาเที่ยงตรงก็ถึงการสงเคราะห์เข้าเป็นกาล. จำเดิมแต่เวลาเที่ยง
ตรงไป ภิกษุไม่อาจเพื่อจะเคี้ยวหรือฉันได้ (แต่) ยังอาจเพื่อจะรีบดื่มได้,
ส่วนภิกษุผู้มีความรังเกียจไม่พึงทำ. และเพื่อรู้กำหนดกาลเวลา ควรปักเสา
เครื่องหมายกาลเวลาไว้. อนึ่ง พึงทำภัตกิจภายในกาล.
ในคำว่า อวเสสํ ขาทนียํ นาม นี้ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:- ใน
อาหารวัตถุมีขนมต้มเป็นต้น ทำสำเร็จมาแต่บุพพัณชาติ และอปรัณชาติมีคำ
ที่ควรจะกล่าวก่อนอย่างนั้น:-
วัตถุแม้ใด มีชนิดเช่นใบและรากเหง้าเป็นต้น เป็นของมีคติอาทิผิด อักขระอย่างอามิส,
นี้ คืออย่างไร ? คือ วัตถุแม้น เป็นต้นว่า รากควรเคี้ยว หัวควรเคี้ยว
เหง้าควรเคี้ยว ยอดควรเคี้ยว ลำต้นควรเคี้ยว เปลือกควรเคี้ยว ใบควรเคี้ยว
ดอกควรเคี้ยว ผลควรเคี้ยว เมล็ดควรเคี้ยว แป้งควรเคี้ยว ยางเหนียวควร
เคี้ยว ย่อมถึงการสงเคราะห์เข้าในขาทนียะ (ของควรเคี้ยว) ทั้งนั้น. ก็ใน
มูลขาทนียะเป็นต้นนั้น เพื่อกำหนดรู้ของควรเคี้ยวมีคติอย่างอามิส มีของควร
เคี้ยว ซึ่งจะชี้ให้เห็นพอเป็นตัวอย่างดังต่อไปนี้:-
[อธิบายของควรเคี้ยวที่จัดเป็นกาลิกต่าง ๆ]
พึงทราบวินิจฉัยในมูลขาทนียะก่อน :- ใบและรากที่ควรเป็นสูปะ
(กับข้าว) ได้ มีอาทิอย่างนั้น คือ มูลกมูล วารกมูล ปุจจุมูลตัมพกมูล
อัตถโยชนา ๒/๗๐ สกฺขลิโมทโกติ วฏฺฏโมทโก. ชาวอินเดียเรียกขนมชนิดนี้ว่า ลัฑฑู นัยว่า ทำจากแป้งเป็นก้อนกลม ๆ ข้างในใส่ไส้แล้วทอดด้วยน้ำมันพืชลักษณะใกล้กับขนมต้มของไทย จึงได้แปลไว้อย่างนั้น. - ผู้ชำระ.
พระปิฎกธรรม

没有评论: