turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 44/317/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า อปฺปฏิกูลา แปลว่า ไม่น่าเกลียด อธิบายว่า น่าชอบใจ
คือน่ารื่นรมย์ใจ. จริงอยู่ ถิ่นที่ท่านผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ผู้สมบูรณ์ด้วย
คุณมีศีลเป็นต้นอยู่นั้น มีอาการดังที่ลุ่มขรุขระอาทิผิด อักขระไม่สม่ำเสมอก็จริง ถึงกระ-
นั้น สถานที่นั้น ก็เป็นที่ฟูใจ น่ารื่นรมย์ใจทีเดียว. สมจริงดังที่พระองค์
ตรัสไว้ว่า
พระอรหันต์ทั้งหลายอยู่ในที่ใด ไม่ว่าจะเป็นบ้าน
ก็ตาม ป่าก็ตาม ที่ลุ่มหรือที่ดอนก็ตาม ที่นั้นเป็นภูมิ
ที่น่ารื่นรมย์ใจ.
บทว่า ปหิเณยฺยาสิ แปลว่า พึงส่งไป. บทว่า สตฺถา อายสฺมนฺ-
ตานํ ทสฺสนกาโม นี้ เป็นบทแสดงถึงอาการที่ส่งไปในสำนักของภิกษุ
เหล่านั้น ดังนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเห็นประโยชน์ที่พระองค์ทรง
ประณามภิกษุเหล่านั้นถึงที่สุด มีพระทัยยินดี จึงตรัสบอกความประสงค์
ที่จะเห็นภิกษุเหล่านั้นแก่พระเถระ. ได้ยินว่า พระองค์ได้มีพระดำริอย่าง
นี้ว่า เราประณามภิกษุเหล่านี้ เพราะกระทำเสียงดังลั่น เมื่อเป็นเช่นนั้น
ภิกษุเหล่านั้นก็ถูกท่านอานนท์โจทท้วง เหมือนม้าอาชาไนยตัวเจริญถูกตี
ด้วยแส้ ได้รับความสลดใจแล้ว จึงเข้าไปยังป่าเพื่อให้เราโปรดปราน เพียร
พยายามอยู่ จักทำให้แจ้งพระอรหัตโดยพลันทีเดียว. บัดนี้พระองค์ทรง
เห็นภิกษุเหล่านั้นบรรลุพระอรหัต มีพระทัยยินดีด้วยการบรรลุพระอรหัต
นั้น มีพระประสงค์จะเห็นภิกษุเหล่านั้น จึงทรงบัญชาท่านพระอานนท์
ผู้เป็นธรรมภัณฑาคาริกอย่างนั้น. บทว่า โส ภิกฺขุ ได้แก่ ภิกษุรูปหนึ่ง
ผู้ได้อภิญญา ๖ ถูกท่านพระอานนทเถระสั่งดังนั้น. บทว่า ปมุเข แปลว่า
ในที่พร้อมหน้า.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 32/306/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระศาสนาของพระโคดมพุทธเจ้านั้น ก็แหละครั้นตรัสอย่างนี้แล้ว
ทรงกระทำภัตตานุโมทนาเสด็จกลับไปพระวิหาร.
ฝ่ายกุฎุมพีทำกรรมงามไม่ขาดเลย ตราบที่พระพุทธเจ้า
ยังทรงพระชนม์อยู่ เมื่อพระศาสดาปรินิพพานแล้ว เมื่อสร้างเจดีย์
ทองประมาณ ๗ โยชน์สำเร็จแล้ว จึงเข้าไปหาภิกษุสงฆ์ถามว่า
อะไรเป็นบริกรรมของทิพยจักษุขอรับ. ภิกษุสงฆ์บอกว่าควรให้
ประทีปนะอุบาสก. อุบาสกกล่าวว่า ดีละขอรับผมจักทำ จึงให้
สร้างต้นประทีปพันต้นเท่ากับประทีปพันดวงก่อน ถัดจากนั้น
สร้างให้ย่อมกว่านั้น ถัดจากนั้นสร้างให้ย่อมกว่านั้น รวมความว่า
ได้สร้างต้นประทีปหลายพันต้น. ส่วนประทีปที่เหลือประมาณไม่ได้
เขาทำกัลยาณกรรม อย่างนี้ตลอดชีวิต ท่องเที่ยวไปในเทวดาและ
มนุษย์ทั้งหลาย ล่วงไปแสนกัป ในกาลแห่งพระกัสสปสัมมาสัม-
พุทธเจ้า บังเกิดในเรือนกุฎุมพีใกล้กรุงพาราณสี เมื่อพระศาสดา
ปรินิพพาน เมื่อสร้างเจดีย์ประมาณ ๑ โยชน์สำเร็จแล้ว ให้สร้าง
ภาชนะสำริดเป็นอันมาก บรรจุเนยใสจนเต็ม ให้วางไส้ตะเกียง
เว้นระยะองคุลี ๑ ๆ ในท่ามกลาง ให้จุดไฟขึ้นให้ล้อมพระเจดีย์
ให้ขอบปากต่อขอบปากจดกัน ให้สร้างภาชนะสำริดใหญ่กว่าเขา
ทั้งหมดสำหรับตนใส่เนยใสเต็ม จุดไส้อาทิผิด สระตะเกียงพันดวงรอบ ๆ ขอบ
ปากภาชนะสำริดนั้น เอาผ้าเก่าที่เป็นจอมหุ้มไว้ตรงกลาง ให้จุดไฟ
เทินภาชนะสำริด เดินเวียนเจดีย์ประมาณ ๑ โยชน์ ตลอดคืนยังรุ่ง.
เขาทำกัลยาณกรรมตลอดชีวิต ด้วยอัตตภาพแม้นั้น ด้วยอาการ
อย่างนี้ แล้วบังเกิดในเทวโลก. เมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่อุบัติขึ้น.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 1/143/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[พระเถระสั่งการให้สุมนสามเณรไปเชิญพระธาตุ]
ณ เจติยคิรีบรรพตนั้น ท่านพระมหินทเถระ กล่าวกะสุมนสามเณรว่า
ไปเถิด สามเณร ! เธอจงเข้าเฝ้าพระเจ้าอโศกธรรมราช ผู้เป็นพระเจ้าตาของเธอ
ในชมพูทวีป ทูลตามคำของเราอย่างนี้ว่า มหาบพิตร ! พระเจ้าเทวานัมปิยดิส
พระสหายของพระองค์ทรงเลื่อมใสในพระศาสนาปรารถนาจะให้สร้างพระสถูป
ได้ยินว่า พระองค์มีพระธาตุอยู่ในพระหัตถ์ (ในครอบอาทิผิด อักขระครอง) ของพระองค์
ได้ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานพระธาตุนั้นแก่อาตมภาพเถิด ดังนี้แล้ว
รับเอาพระธาตุนั้น จงเข้าเฝ้าท้าวสักกเทวราชทูลอย่างนี้ว่า ข้าแต่มหาราช !
ได้ยินว่าพระองค์มีพระธาตุอยู่ในพระหัตถ์ (ในครอบครอง) ๒ องค์ คือ
พระทันตธาตุเบื้องขวา ๑ พระธาตุรากขวัญเบื้องขวา ๑ เพราะฉะนั้น ขอ
พระองค์โปรดบูชาพระทันตธาตุเบื้องขวา แต่พระราชทานพระธาตุรากขวัญ
เบื้องขวาแก่อาตมภาพ และจงทูลท้าวสักกะนั้นอย่างนี้ว่า ข้าแต่มหาราช !
เพราะเหตุไร พระองค์ทรงส่งพวกอาตมภาพไปยังเกาะตัมพปัณณิทวีปแล้ว
ทรงปล่อยปละละเลยเสีย ดังนี้.
[สุมนสามเณรไปเชิญพระธาตุเกาะลังกาตามเถรบัญชา]
สุมนสามเณรรับคำของพระเถระว่า ดีละ ขอรับ ! ดังนี้แล้ว ถือเอา
บาตรและจีวรเหาะขึ้นสู่เวหาส ในขณะนั้นนั่นเอง ลงที่ประตูนครปาตลีบุตร
ไปสู่ราชสำนักทูลเรื่องนั้นให้ทรงทราบ. พระมหาราชา ทรงยินดีรับบาตรจาก
มือสามเณร อบอาทิผิด อักขระด้วยของหอมแล้วได้บรรจุพระธาตุเช่นกับแก้วมุกดาอันประเสริฐ
ถวาย. สามเณรนั้นรับเอาพระธาตุนั้นแล้ว เข้าไปเฝ้าท้าวสักกเทวราช. ท้าว-
สักกเทวราชเห็นสามเณรแล้วตรัสว่า พ่อสุมนะผู้เจริญ ! เธอเที่ยวมา เพราะ
เหตุไร ?
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 56/332/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
วันหนึ่ง พระราชาเสด็จไปสู่พระอุทยาน ด้วยบริวารเป็นอันมาก
เสด็จเที่ยวไปสู่ละแวกป่า แล้วทรงพระประสงค์จะทรงอุทกกีฬา
เสด็จลงสู่สระโบกขรณีอันเป็นมงคล รับสั่งเรียกแม้นางใน.
พวกสตรีต่างก็เปลื้องอาภรณ์ มีเครื่องประดับศีรษะและประดับคอ
เป็นต้น ใส่ในผ้าห่มวางไว้บนหลังหีบ มอบให้ทาสีทั้งหลายรับไว้
แล้วพากันลงสู่โบกขรณี. ครั้งนั้นนางลิงอยู่ในสวนตัวหนึ่ง นั่งเจ่า
เหนือกิ่งไม้ เห็นพระเทวีทรงเปลื้องเครื่องประดับทรงใส่ไว้ใน
ผ้าทรงสะพัก แล้วทรงวางไว้หลังพระสมุกอาทิผิด อักขระ นึกอยากจะแต่งสร้อย
มุกดาหารของพระนาง นั่งจ้องดูความเผลอเรออาทิผิด อักขระของนางทาสีอยู่
ฝ่ายนางทาสีผู้เฝ้า ก็มัวนั่งมองดูในที่นั้นอยู่ เลยง่วงหลับไป
นางลิงรู้ความที่นางทาสีประมาท โดดลงโดยรวดเร็วปานลมพัด
สอดสวมสร้อยมุกดาหารใหญ่ที่คอ แล้วโดดขึ้นรวดเร็วปานลม
เหมือนกัน กลับนั่งเหนือกิ่งไม้ กลัวนางลิงตัวอื่น ๆ จะเห็น จึง
ซุกไว้ที่โพรงไม้แห่งหนึ่ง แสร้งทำเป็นเหมือนสงบเสงี่ยม นั่งเฝ้า
เครื่องประดับนั้นไว้ ฝ่ายนางทาสีนั้นเล่า ตื่นขึ้นไม่เห็นมุกดาหาร
ก็ตัวสั่น ครั้นไม่เห็นอุบายอื่น ก็ต้องตะโกนว่า คนแย่งมุกดาหาร
ของพระเทวีหนีไปแล้ว พวกมนุษย์ที่เฝ้าแหน ประชุมกันตาม
ตำแหน่งนั้น ๆ ครั้นได้ยินคำของนาง ก็กราบทูลแด่พระราชา
พระราชารับสั่งว่า พวกท่านจงจับโจรให้ได้ พวกราชบุรุษ
ทั้งหลายก็พากันออกจากพระราชอุทยาน กล่าวว่า พวกท่าน
จงจับโจร จงจับโจร พากันค้นหาทางโน้น ทางนี้.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 1/216/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เพราะฉะนั้นจึงชื่อว่า มีความงามในท่ามกลาง. และเมื่อสาธุชนปฏิบัติแล้ว
โดยประการนั้น ก็ย่อมนำมาแต่ความงามเช่นเดียวกัน แม้ด้วยผลแห่งการ
ปฏิบัติ เพราะจะนำความเป็นผู้คงที่มาให้ ในเมื่อได้สำเร็จผลแห่งการปฏิบัติ
แล้ว เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า มีความงามในที่สุด.
อนึ่ง มีความงามในเบื้องต้น ด้วยความบริสุทธิ์แห่งแดนเกิด เพราะ
ศาสนธรรมมีที่พึ่งเป็นแดนเกิด มีความงามในท่ามกลางด้วยความบริสุทธิ์แห่ง
อรรถ มีความงามในที่อาทิผิด สุดด้วยความบริสุทธิ์แห่งกิจ. เพราะฉะนั้น สมเด็จ
พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เมื่อทรงแสดงธรรมจะน้อยหรือมากก็ตาม
พึงทราบว่า ทรงแสดงครบถ้วนทั้ง ๓ ประการ มีความงามในเบื้องต้นเป็น
อาทิ.
[อรรถาธิบายศัพท์ว่า สาตฺถํ สพฺยญฺชนํ]
ก็ในคำเป็นต้นอย่างนี้ว่า สาตฺถํ สพฺยญฺชนํ ดังนี้ พึงทราบวินิจฉัย
ดังนี้ : -
เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เมื่อทรงแสดงพระธรรมนี้
ชื่อว่าทรงประกาศ คือทรงแสดงศาสนาพรหมจรรย์และมรรคพรหมจรรย์ด้วย
นัยต่าง ๆ. ก็ศาสนาพรหมจรรย์และมรรคพรหมจรรย์นั้น ชื่อว่าพรั่งพร้อม
ด้วยอรรถ เพราะถึงพร้อมด้วยอรรถ, ชื่อว่าพรั่งพร้อมด้วยพยัญชนะ เพราะ
ถึงพร้อมด้วยอรรถบทที่แสดง ประกาศ เปิดเผย จำแนก ทำให้ตื้นและบัญญัติ,
ชื่อว่าพรั่งพร้อมด้วยพยัญชนะ เพราะถึงพร้อมด้วยอักษร บท พยัญชนะ
อาการ นิรุตติอาทิผิด สระ และนิเทศ, ชื่อว่าพรั่งพร้อมด้วยอรรถ เพราะความที่ศาสน-
พรหมจรรย์เป็นต้นนั้น ลึกโดยอรรถ และลึกโดยปฏิเวธ, ชื่อว่า พรั่งพร้อม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 33/309/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ก็ปฏิสังขานพละเป็นไฉน บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมพิจารณาดังนี้ว่า
วิบากของกายทุจริตแล ชั่วช้าทั้งในชาตินี้และในภพเบื้องหน้า วิบาก
ของมโนทุจริต ชั่วช้าทั้งในชาตินี้และในภพเบื้องหน้า ครั้นเขาพิจารณา
ดังนี้แล้ว ย่อมละกายทุจริต เจริญกายสุจริต ย่อมละวจีทุจริต เจริญ
วจีอาทิผิด สุจริต ย่อมละมโนทุจริต เจริญมโนสุจริต บริหารตนให้บริสุทธิ์
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่าปฏิสังขานพละ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ภาวนาพละเป็นไฉน ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อม
ไปในการสละ ย่อมเจริญธัมมวิจยสัมโพชฌงค์. . . ย่อมเจริญวิริย-
สัมโพชฌงค์... ย่อมเจริญปีติสัมโพชฌงค์... ย่อมเจริญปัสสัทธิ-
สัมโพชฌงค์. . . ย่อมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค์. . . ย่อมเจริญอุเบกขาอาทิผิด สระ-
สัมโพชฌงค์อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปในการสละ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่าภาวนาพละ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พละ ๒
อย่างนี้แล.
จบสูตรที่ ๒
อรรถกถาสูตรที่ ๒
ในสูตรที่ ๒ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
ในบทว่า สติสมฺโพชฺฌงฺคํอาทิผิด อักขระ ภาเวติ เป็นต้น มีพรรณนาความ
ของบทที่ยังมิได้มีมาในหนหลัง ดังนี้ . บทว่า วิเวกนิสฺสิตํ ได้แก่ อาศัย
วิเวก. ความสงัด ชื่อว่าวิเวก. วิเวกดังกล่าวนี้ มี ๕ อย่าง คือ ตทังค-
วิเวก วิกขัมภนวิเวก สมุจเฉทวิเวก ปฏิปัสสัทธิวิเวก และนิสสรณวิเวก.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 68/349/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า ทส มิจฺฉตฺตา - ความเห็นผิด ๑๐ คือ มิจฉาทิฏฐิ ฯลฯ
มิจฉาสมาธิ มิจฉาญาณะ มิจฉาวิมุตติ.
ในบทเหล่านั้น บทว่า มิจฺฉาญาณํ - รู้ผิด ได้แก่ โมหะเกิด
ขึ้น ด้วยคิดถึงอุบายในการทำชั่ว และด้วยอาการพิจารณาว่า เราทำชั่ว
ก็เป็นการทำของตนเอง.
บทว่า มิจฺฉาวิมุตฺติอาทิผิด สระ - พ้นผิด ได้แก่ เมื่อยังไม่พ้นสำคัญว่าพ้น.
[๖๕] บัดนี้ เพื่อแสดงธรรมที่ควรละด้วยปหานะ มีประเภท
หลายอย่าง พระสารีบุตรจึงเริ่มบทมีอาทิว่า เทฺว ปหานานิ - ปหานะ
๒ ก็เมื่อรู้แจ้งปหานะแล้วควรรู้ธรรมที่ควรละด้วยปหานะนั้น ๆ. ใน
ปหานะ ๕ ท่านกล่าวถึงโลุกุตรปหานะ ๒ พร้อมกับ ปโยคะ ก่อนเว้น
ปหานะ ๒ ทางโลก และ นิสสรณปหานะ การละด้วยอุบายเครื่องสลัด
ออก อันไม่เป็น ปโยคะ.
ชื่อว่า สมุจเฉทะ เพราะปหานะเป็นเหตุทำให้กิเลสขาดไป
โดยชอบ, ชื่อว่า ปหานะ เพราะปหานะเป็นเหตุละกิเลส.
ชื่อว่า สมุจเฉทปหานะ เพราะละกิเลสอันเป็นสมุจเฉท ไม่ใช่
ละกิเลสที่ยังมีเหลือ.
ชื่อว่า ปฏิปัสสัทธิ เพราะกิเลสสงบ, ชื่อว่า ปหานะ เพราะ
ละกิเลส, การละอันเป็นความสงบ ชื่อว่า ปฏิปัสสัทธิปหานะ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 1/312/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คลอง ๑ เพราะทนต่อความย่ำยีได้อย่างวิเศษ ๑ เพราะฟังอยู่ก็เป็นสุข ๑
เพราะใคร่ครวญอยู่ก็มีประโยชน์ ๑ ดังนี้.
[เวรัญชพราหมณ์ชมเชยพระธรรมเทศนาด้วยอุปมา ๔ อย่าง]
แม้เบื้องหน้าแต่นั้นไป เวรัญชพราหมณ์ ย่อมชมเชยเทศนานั่นแล
ด้วยอุปมา ๔ ข้อ.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า นิกฺกุชฺชิตํ คือ ภาชนะที่เขาวางคว่ำ
ปากไว้ หรือมีที่ปากอยู่ภายใต้.
บทว่า อุกฺกุชฺเชยย คือ พึงหงายปากขึ้น.
บทว่า ปฏิจฺฉนฺนํ คือ ที่เขาปิดไว้ด้วยวัตถุมีหญ้าและใบไม้เป็นต้น.
บทว่า วิวเรยฺย คือ พึงเปิดขึ้น
บทว่า มูฬฺหสฺส คือ คนหลงทิศ.
สองบทว่า มคฺคํ อาจิกฺเขยฺย ความว่า พึงจับที่มือแล้วบอกว่า
นี้ทาง.
บทว่า อนฺธกาเร ความว่า ในความมืดมีองค์ ๔ (คือ) เพราะ
วันแรม ๑๔ ค่ำอาทิผิด อาณัติกะในกาฬปักษ์ ๑ กลางคืนอาทิผิด สระ ๑ ไพรสณฑ์อาทิผิด ที่หนาทึบ (ดงทึบ) ๑
กลีบเมฆ ๑. ความหมายแห่งบทที่ยังไม่กระจ่างมีเท่านี้ก่อน :-
ส่วนการประกอบความอธิบาย มีดังต่อไปนี้ :-
(เวรัญชพราหมณ์ ชมเชยพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า) ท่านพระโคดมอาทิผิด อักขระ
ผู้เจริญ ทรงยังเราผู้เบือนหน้าหนีจากพระสัทธรรม ตกไปในอสัทธรรมแล้ว
ให้ออกจากอสัทธรรม เหมือนใคร ๆ พึงหงายภาชนะที่คว่ำขึ้นไว้ฉะนั้น ทรง
เปิดเผยพระศาสนาที่ถูกรกชัฏคือ มิจฉาทิฏฐิปกปิดไว้ ตั้งต้นแต่พระศาสนา
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 42/328/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
“ ผู้เป็นใหญ่ อย่างไรเล่า ชื่อว่าเป็นพระราชา ? ” เป็นต้น.
อุตตรมาณพ ขับเพลงแก้ว่า
“ ผู้เป็นใหญ่ในทวาร ๖ ชื่อว่าเป็นอาทิผิด สระพระราชา ” เป็นอาทิ. นาง-
นาคมาณวิกา ขับเพลงโต้แก่อุตตรมาณพนั้นอีกว่า
“ คนพาล อันอะไรเอ่ย ย่อมพัดอาทิผิด อักขระไป ? ” เป็นต้น.
ทีนั้น อุตตรมาณพเมื่อจะขับเพลงแก้แก่นาง จึงกล่าวคาถานี้ว่า :-
“ คนพาลอันห้วงน้ำย่อมพัดไป ” ดังนี้เป็นต้น.
นาคราชทราบว่าพระพุทธเจ้าอุบัติแล้ว
นาคราชพอฟังคาถานั้น ทราบความที่พระพุทธเจ้าบังเกิดขึ้น ดีใจ
ว่า “ เราไม่เคยฟังชื่อบทเห็นปานนี้ ตลอดพุทธันดรหนึ่ง, ” ผู้เจริญ
พระพุทธเจ้า บังเกิดขึ้นในโลกแล้วหนอ “ จึงเอาหางฟาดน้ำ, คลื่นใหญ่
เกิดขึ้นแล้ว. ฝั่งทั้งสองพังลงแล้ว. พวกมนุษย์ในที่ประมาณอุสภะหนึ่ง
แต่ฝั่งข้างนี้และฝั่งข้างโน้น จมลงไปในน้ำ. นาคราชนั้น ยกมหาชนมี
ประมาณเท่านั้นวางไว้บนพังพาน แล้วตั้งไว้บนบก. นาคราชนั้นเข้าไป
หาอุตตรมาณพ แล้วถามว่า " แน่ะนาย พระศาสดาประทับอยู่ที่ไหน ? ”
อุตตระ. ประทับนั่งที่โคนไม้ต้นหนึ่ง มหาราช.
นาคราชนั้นกล่าวว่า “ มาเถิดนาย พวกเราจะพากันไป ” แล้ว
ได้ไปกับอุตตรมาณพ. ฝ่ายมหาชนก็ได้ไปกับเขาเหมือนกัน. นาคราชนั้น
ไปถึง เข้าไปสู่ระหว่างพระรัศมีมีพรรณะ ๖ ถวายบังคมพระศาสดาแล้ว
ได้ยืนร้องไห้อยู่. ลำดับนั้น พระศาสดาตรัสกะนาคราชนั้นว่า “ นี่อะไร
กัน ? มหาบพิตร. ”
นาคราช. พระเจ้าข้า ข้าพระองค์เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า ผู้
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 23/77/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อรรถกถาพักกุลสูตร
พักกุลสูตร* มีบทเริ่มต้นว่า ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้:-
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า พกฺกุโล มีอธิบายว่า เปรียบเหมือน
เมื่อควรจะกล่าวคำเป็นต้นว่า ทฺวาวีสติ ทวตฺติํส คนทั้งหลายกลับกล่าวว่า
พาวีสติ พตฺติํส ดังนี้เป็นต้น ฉันใด บทนี้ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน คือ
เมื่อควรจะกล่าวว่า ทฺวิกฺกุโล หรือ ทวกฺกุโล กลับกล่าวว่า พกฺกุโล.
ก็พระเถระนั้น ได้มีตระกูลถึงสองตระกูล.
เล่ากันว่า ท่านจุติจากเทวโลก เกิดขึ้นตระกูลมหาเศรษฐี ชื่อนคร
โกสัมพี. ในวันที่ ๕ พวกพี่เลี้ยงพาท่านไปดำเกล้า แล้วลงเล่นในแม่น้ำคงคา
เมื่อพวกพี่เลี้ยงกำลังให้ทารกเล่นดำอาทิผิด อักขระผุด ดำว่ายอยู่ ปลาตัวหนึ่งเห็นทารก
สำคัญว่าเป็นอาหาร จึงคาบเด็กไป. พวกพี่เลี้ยง ต่างก็ทิ้งเด็กหนีไป ปลา
กลืนเด็กแล้ว ธรรมดาสัตว์มีบุญไม่เดือดร้อนเลย. เขาได้เป็นเหมือนเข้าไปสู่
ห้องนอนแล้วนอนหลับไป. ด้วยเดชแห่งทารก ปลามีสภาพเหมือนกลืนกระ-
เบื้องที่ร้อนลงไป ถูกความร้อนแผดเผาอยู่ มีกำลังว่ายไปได้เพียง ๓๐ โยชน์
แล้วเข้าไปติดอาทิผิด อักขระข่ายของชาวประมง ชาวเมืองพาราณสี ก็ธรรมดาปลาใหญ่ที่
ติดข่าย เมื่อถูกนำไป ถึงจะตาย แต่ด้วยเดชแห่งทารก ปลาตัวนี้ พอเขา
นำออกจากข่ายก็ตายทันที. และธรรมดาชาวประมง ได้ปลาตัวใหญ่ ๆ แล้ว
ย่อมผ่าออกแบ่งขาย. แต่ด้วยอานุภาพของเด็ก ชาวประมงยังไม่ผ่าปลานั้น
ใช้คานหามไปทั้งตัว ร้องประกาศไปทั่วเมืองว่า จะขายราคาหนึ่งพัน ใคร ๆ
ก็ไม่ซื้ออาทิผิด อักขระ.
๑. พระสูตรเป็น พักกุลัตเถรัจฉริยัพภูตสูตร
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/383/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เหลือง.
ครูมักขลิโคสาล ทำผู้ให้ปัจจัยแก่ตนให้เป็นผู้เจริญที่สุดกว่านิครนถ์
ทั้งหลายอย่างนี้. เขาเรียกอาชีวกชายและอาชีวกหญิง ว่า อภิชาติขาว.
ได้ยินว่า พวกอภิชาติขาวเหล่านั้นขาวกว่า ๔ พวกข้างต้น. ท่านกล่าวว่า
นันทะ วัจฉะ กีสะ สังกิจจะ ท่านมักขลิโคสาลเป็นอภิชาติขาวยิ่ง
ได้ยินว่า ท่านเหล่านั้นขาวกว่าท่านอื่น ๆ ทั้งหมด.
บทว่า อฏฺฐ ปุริสภูมิโย ความว่า ครูมักขลิโคสาลกล่าวว่า ภูมิ
๘ เหล่านี้คือ มันทภูมิ ขิฑฑาภูมิ ปทวีมังสภูมิ อุชุคตภูมิ เสขภูมิ สมณภูมิ
ชินภูมิ ปันนภูมิ เป็นปุริสภูมิ.
ในภูมิ ๘ นั้น ตั้งแต่วันคลอดอาทิผิด อักขระมาใน ๗ วัน สัตว์ทั้งหลายยังมึนงง
อยู่ เพราะออกมาจากที่คับแคบ ครูมักขลิโคสาลเรียกคนภูมินี้ว่า มันท-
ภูมิ.
ส่วนผู้ที่มาจากทุคติย่อมร้องไห้ส่งเสียงอยู่เนือง ๆ ผู้ที่มาจากสุคติ
ระลึกถึงสุคตินั้นเสมอ ย่อมหัวเราะ นี้ชื่อว่า ขิฑฑาภูมิ.
เด็กที่จับมือหรือเท้าของมารดาบิดา หรือจับเตียงหรือตั่ง แกว่งเท้า
บนพื้น ชื่อว่า ปทวีมังสภูมิอาทิผิด อักขระ.
เด็กในเวลาที่สามารถเดินได้ ชื่อว่า อุชุคตภูมิ.
ในเวลาศึกษาศิลปะทั้งหลาย ชื่อว่า เสขภูมิ.
ในเวลาออกจากเรือนบวช ชื่อว่า สมณภูมิ.
ในเวลาที่คบหาอาจารย์แล้วรู้วิชา ชื่อว่า ชินภูมิ.
สมณะผู้ไม่มีรายได้ เรียกว่า ปันนภูมิ ดังที่กล่าวไว้ว่า ภิกษุก็ดี
พวกปันนกะหรือชินะก็ดี ไม่กล่าวขออะไร ๆ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 48/48/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๔. จตุตถปีฐวิมาน
ว่าด้วยวิมานตั่งแก้วไพฑูรย์อาทิผิด อักขระ
[๔] พระโมคคัลลานะถามว่า
ดูก่อนเทพธิดาผู้มีกายอันประดับแล้ว ทรงมาลัย
ทรงพัสตราภรณ์อันสวยงามวิมานตั่งแก้วไพฑูรย์ของ
ท่านโอฬาร เร็วดังใจไปได้ตามปรารถนาท่านส่องแสง
ประกายดังสายฟ้าแลบลอดหลืบเมฆ เพราะบุญอะไร
ท่านจึงมีวรรณะเช่นนี้ เพราะบุญอะไร ผลนี้จึงสำเร็จ
แก่ท่าน อนึ่ง โภคะทุกอย่างที่น่ารักจึงเกิดขึ้นแก่ท่าน.
ดูก่อนเทพีผู้มีอานุภาพมาก อาตมาขอถามท่าน
ครั้งเกิดเป็นมนุษย์ท่านได้ทำบุญอะไรไว้ เพราะบุญ
อะไร ท่านจึงมีอานุภาพรุ่งเรืองอย่างนี้ และวรรณะ
ของท่านจึงสว่างไสวไปทุกทิศ.
เทวดานั้น อันพระมหาโมคคัลลานะถามแล้ว
ดีใจ ครั้นแล้วก็พยากรณ์ปัญหาของกรรมที่มีผล
อย่างนี้ว่า
นี้เป็นผลกรรมอันน้อยของดีฉันที่เป็นเหตุให้ดีฉัน
มีอานุภาพรุ่งเรืองอย่างนี้ ครั้งเกิดเป็นมนุษย์ใน
มนุษยโลกในชาติก่อน ดีฉันได้เห็นภิกษุผู้ปราศจาก
กิเลสดุจธุลี ผ่องใส ไม่ขุ่นมัว ก็เลื่อมใส ได้ถวาย
ตั่งแก่ท่านด้วยมือทั้งสองของตน เพราะบุญนั้น ดีฉัน
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 7/493/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อุบาลีคาถาอาทิผิด อักขระ
[๒๖๐] อุ. เมื่อกิจของสงฆ์ การ
ปรึกษาวินัย การตีความวินัย และการวินิจฉัย
ความแห่งอาทิผิด อักขระวินัยเกิดขึ้นแล้ว ภิกษุในธรรมวินัย
นี้ เป็นคนชนิดไร จึงมีอุปการะมาก เป็น
คนชนิดไร จึงควรยกย่อง ในพระธรรม-
วินัยนี้.
พ. เบื้องต้น ภิกษุไม่ถูกตำหนิโดย
ศีล หมั่นตรวจมรรยาท และสำรวม
อินทรีย์อาทิผิด สระเรียบร้อย ศัตรูติเตียนอาทิผิด ไม่ได้โดยธรรม
เพราะเธอไม่มีความผิดที่ฝ่ายศัตรูจะพึงกล่าว
ถึงเธอ ผู้เช่นนั้น ตั้งอยู่ในศีลวิสุทธิ์ เป็นผู้
แกล้วกล้า พูดจาฉาดฉาน เข้าที่ประชุมไม่
สะดุ้ง ไม่ประหม่า กล่าวถ้อยคำอาทิผิด มีเหตุ ไม่
ให้อาทิผิด สระเสียความ ถึงถูกถามปัญหาในที่ประชุม
ก็เช่นนั้นเหมือนกัน ย่อมไม่นิ่งอั้น ไม่เก้อ
เธอเป็นผู้เชี่ยวชาญ กล่าวถ้อยคำถูกกาล
เหมาะแก่การพยากรณ์ ย่อมยังหมู่วิญญูชน
ให้พอใจ มีความเคารพในภิกษุทั้งหลาย ที่
แก่พรรษากว่า เป็นผู้แกล้วกล้าในอาจริย-
วาทของตน สามารถเพื่อจะวิจารณ์ ชำนาญ
ในถ้อยคำที่จะพึงกล่าว ฉลาดจับข้อพิรุธของ
ฝ่ายศัตรู เป็นเหตุให้ฝ่ายศัตรูถึงความถูก
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 25/359/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อรรถกถากัสสปโคตตสูตร
พึงทราบวินิจฉัยในกัสสปโคตตสูตรที่ ๓ ต่อไปนี้ :-
บทว่า เฉตํ คือพรานล่าเนื้อคนหนึ่ง. บทว่า โอวทิ ความว่า ได้
ยินว่า พรานล่าเนื้อนั้นกินข้าวเช้าแล้วคิดว่า เราจักล่าเนื้อ จึงเข้าไปสู่ป่า
เห็นละมั่งตัวหนึ่ง คิดว่า เราจักประหารมันด้วยหอก ติดตามไป หลีกไปไม่
ไกลที่พระเถระนั่งในที่พักกลางวัน โดยนัยที่กล่าวแล้วในสูตรที่ ๑. ลำดับนั้น
พระเถระจึงกล่าวกะเขาว่า อุบาสก ขึ้นชื่อว่า ปาณาติบาตนี้ เป็นไปเพื่ออบาย
เป็นไปด้วยเหตุให้มีอายุสั้น เขาอาจจะทำการเลี้ยงเมียด้วยการงานอย่างอื่น มี
การกสิกรรมและพาณิชยกรรมเป็นต้นก็ได้ ท่านอย่าทำกรรมหยาบช้าอย่างนี้เลย.
แม้เขาก็คิดว่า พระเถระผู้ถือผ้ามหาบังสุกุลพูด จึงเริ่มยืนฟังด้วยความเคารพ.
ลำดับนั้น พระเถระนั้น คิดว่า เราจักยังความใคร่พึงให้เกิดแก่เขา จึงยัง
นิ้วหัวแม่มือให้ลุกโพลงขึ้น. เขาเห็นแม้ด้วยตา ได้ยินแม้ด้วยหู แต่จิตใจ
ของเขาแล่นไปตามรอยเท้าเนื้ออย่างนี้ว่า เนื้อจักไปสู่ที่โน้น ลงท่าโน้น
เราจักไปฆ่ามันในที่นั้น กินเนื้อตามต้องการแล้ว จักหาบเนื้อที่เหลือไปฝาก
ลูก ๆ. บทว่า โอวทติ ดังนี้ ท่านกล่าวหมายถึงพระเถระผู้แสดงธรรมนั้น
แก่พรานผู้ฟุ้งซ่านอาทิผิด สระอย่างนี้. บทว่า อชฺฌภาสิ ความว่า พระเถระนี้ ยังการ
งานทั้งของตน ทั้งของพรานนั้นให้พินาศ เหมือนอย่างคนถากของคนอื่นที่ไม่
ใช่ไม้ฟืน เหมือนอย่างคนหว่านข้าวในที่ไม่ใช่นา คิดว่า เราจักเตือนเขา จึงกล่าว.
บทว่า อปฺปปญฺญํ แปลว่า ไม่มีปัญญา. บทว่า อเจตสํ ได้แก่ ปราศจาก
ความคิดที่สามารถรู้เหตุการณ์. บทว่า มนฺโทว แปลว่า เหมือนคนโง่เขลา.
บทว่า สุณาติ ได้แก่ ฟังธรรมกถาของท่าน. บทว่า น วิชานาติ ได้แก่
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 13/82/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า วิธูรสญฺชีวํ คือ พระสาวกชื่อว่า วิธูระ และสัญชีวะ ในท่าน
ทั้งสองนั้น ท่านวิธุระบรรลุปัญญาบารมี. ท่านสัญชีวะบรรลุสมาธิบารมี เป็น
ผู้มักเข้าสมาบัติพยายามด้วยกำลังสมาบัติในที่พักกลางคืนที่พักกลางวัน กุฎี ถ้ำ
และมณฑปเป็นต้น เข้านิโรธในป่าตลอดวัน. พวกทำงานในป่าเป็นต้น
เข้าใจว่า ท่านมรณภาพจึงพากันเผาท่าน. ท่านสัญชีวะนั้นครั้นออกจากสมาบัติ
ตามกำหนด ห่มคลุมเข้าไปยังบ้านเพื่อบิณฑบาตอาทิผิด . อาศัยเหตุนั้นแล ชนทั้งหลาย
จึงรู้จักท่านว่า ท่านสัญชีวะ ดังนี้.
บทว่า ภิยฺโยสุตฺตรํ คือ พระสาวกชื่อว่า ภิยโยสะและอุตตระ. ใน
ท่านทั้งสองนั้น ท่านภิยโยสะเป็นผู้เลิศด้วยปัญญา ท่านอุตตระเป็นผู้เลิศด้วย
สมาธิ.
บทว่า ติสฺสภารทฺวาชํ คือ พระสาวกชื่อว่าติสสะ และภารทวาชะ.
ในท่านทั้งสองนั้น ท่านติสสะได้บรรลุปัญญาบารมี ท่านภารทวาชะได้บรรลุ
สมาธิบารมี.
บทว่า สารีปุตฺตโมคฺคลฺลานํ คือ พระสาวกชื่อว่า สารีบุตร และ
โมคคัลลานะ. ในท่านทั้งสองนั้น ท่านสารีบุตรได้เป็นผู้เลิศในทางปัญญา ท่าน
โมคคัลลานะได้เป็นผู้เลิศในทางสมาธิ. นี้ชื่อว่ากำหนดคู่อัครสาวก.
พึงทราบวินิจฉัยในการกำหนดการประชุมสาวก. การประชุมครั้งแรก
ของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่าวิปัสสีอาทิผิด อักขระได้ประกอบด้วยองค์ ๔. คือภิกษุทั้ง
หมดเป็นเอหิภิกษุ ภิกษุทั้งหมดมีบาตรและจีวรบังเกิดด้วยฤทธิ์. ภิกษุทั้งหมด
ไม่ได้นัดหมายกันมา. อนึ่ง ภิกษุเหล่านั้นมาประชุมกันในวันอุโบสถขึ้น ๑๕ ค่ำ.
ลำดับนั้น พระศาสดา ประทับนั่งจับพัดยังภิกษุให้ลงอุโบสถ. ครั้งที่ ๒ ครั้งที่ ๓
กับอาทิผิด อักขระนัยนี้แล. ในการประชุมทั้งหมดของพระพุทธเจ้าทั้งหลายที่เหลือก็เป็นอย่าง
นั้น. ก็แต่ว่าพระผู้มีพระภาคเจ้าของเราทั้งหลายได้มีการประชุมในปฐมโพธิกาล
พระปิฎกธรรม