星期三, 一月 15, 2020

Sue

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 23/77/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถาพักกุลสูตร
พักกุลสูตร* มีบทเริ่มต้นว่า ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้:-
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า พกฺกุโล มีอธิบายว่า เปรียบเหมือน
เมื่อควรจะกล่าวคำเป็นต้นว่า ทฺวาวีสติ ทวตฺติํส คนทั้งหลายกลับกล่าวว่า
พาวีสติ พตฺติํส ดังนี้เป็นต้น ฉันใด บทนี้ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน คือ
เมื่อควรจะกล่าวว่า ทฺวิกฺกุโล หรือ ทวกฺกุโล กลับกล่าวว่า พกฺกุโล.
ก็พระเถระนั้น ได้มีตระกูลถึงสองตระกูล.
เล่ากันว่า ท่านจุติจากเทวโลก เกิดขึ้นตระกูลมหาเศรษฐี ชื่อนคร
โกสัมพี. ในวันที่ ๕ พวกพี่เลี้ยงพาท่านไปดำเกล้า แล้วลงเล่นในแม่น้ำคงคา
เมื่อพวกพี่เลี้ยงกำลังให้ทารกเล่นดำอาทิผิด อักขระผุด ดำว่ายอยู่ ปลาตัวหนึ่งเห็นทารก
สำคัญว่าเป็นอาหาร จึงคาบเด็กไป. พวกพี่เลี้ยง ต่างก็ทิ้งเด็กหนีไป ปลา
กลืนเด็กแล้ว ธรรมดาสัตว์มีบุญไม่เดือดร้อนเลย. เขาได้เป็นเหมือนเข้าไปสู่
ห้องนอนแล้วนอนหลับไป. ด้วยเดชแห่งทารก ปลามีสภาพเหมือนกลืนกระ-
เบื้องที่ร้อนลงไป ถูกความร้อนแผดเผาอยู่ มีกำลังว่ายไปได้เพียง ๓๐ โยชน์
แล้วเข้าไปติดอาทิผิด อักขระข่ายของชาวประมง ชาวเมืองพาราณสี ก็ธรรมดาปลาใหญ่ที่
ติดข่าย เมื่อถูกนำไป ถึงจะตาย แต่ด้วยเดชแห่งทารก ปลาตัวนี้ พอเขา
นำออกจากข่ายก็ตายทันที. และธรรมดาชาวประมง ได้ปลาตัวใหญ่ ๆ แล้ว
ย่อมผ่าออกแบ่งขาย. แต่ด้วยอานุภาพของเด็ก ชาวประมงยังไม่ผ่าปลานั้น
ใช้คานหามไปทั้งตัว ร้องประกาศไปทั่วเมืองว่า จะขายราคาหนึ่งพัน ใคร ๆ
ก็ไม่ซื้ออาทิผิด อักขระ.
๑. พระสูตรเป็น พักกุลัตเถรัจฉริยัพภูตสูตร
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: