Thua
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 17/126/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปฏิจจสมุปบาทซึ่งมีสังเขป ๔ มีสนธิ ๓ มีอัทธา ๓ (และ) มี
อาการ ๒๐ แม้ทั้งหมดพึงทราบว่า ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคเจ้า
ทรงแสดงแล้วด้วยพระดำรัสเพียงเท่านี้ว่า เพราะทราบอย่างนี้ว่า นันทิ
(ความเพลิดเพลิน. ยินดี) เป็นรากเหง้าของทุกข์ จึงทราบต่อไปว่า
เพราะภพจึงมีชาติ สัตว์ที่เกิดมาแล้วย่อมมีชราและมรณะ ด้วยประการ
ดังพรรณนามาฉะนี้.
แก้บท ขยา วิราคา ปฏินิสฺสคฺคาอาทิผิด สระ
บัดนี้ ข้าพเจ้าจักกระทำการพรรณนาไปตามลำดับบท ในบทนี้ว่า
ตสฺมา ติห ภิกฺขเว ฯเปฯ อภิสมฺพุทฺโธติ วทามิ แล้วสรุปข้อความ
ด้วยบทโยชนา.
บทว่า ตสฺมา ติห มีอธิบายว่า ได้แก่ ตสฺมา (เพราะเหตุนั้น )
นั่นเอง. (เพราะว่า) ติ อักษร และ ห อักษร เป็นนิบาต. คำว่า
สพฺพโส นั่น เป็นคำกล่าวไม่มีส่วนเหลือ. บทว่า ตณฺหานํ ได้แก่ตัณหา
ทั้งหมดที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้อย่างนี้ว่า นันทิ. บทว่า ขยา
แปลว่า เพราะความสิ้นไปโดยเด็ดขาดด้วยโลกุตตรมรรค. คำว่า วิราคะ.
(สำรอก) เป็นต้น เป็นไวพจน์ของคำว่า ขยะ (ความสิ้นไป).
อธิบายว่า ตัณหาเหล่าใดสิ้นไปอาทิผิด แล้ว ตัณหาเหล่านั้นย่อมเป็นอันสำรอก
แล้วบ้าง ดับแล้วบ้าง สละทิ้งแล้วบ้าง สลัดคืนบ้าง. อีกอย่างหนึ่ง คำว่า
ขยา นั้น เป็นคำใช้ทั่วอาทิผิด สระไปแก่กิจของมรรคทั้ง ๔. เพราะเหตุนั้น จึงควร
อธิบายประกอบความว่า เพราะสำรอกได้ด้วยมรรคที่ ๑ (โสดาปัตติมรรค)
มรรคที่ ๒ (สกทาคามิมรรค) เพราะสละทิ้งได้ด้วยมรรคที่ ๓ (อนา-
พระปิฎกธรรม
1 条评论:
Website?
…ขอบคุณท่าน ครั้งท่านหาจะให้สมบูรณ์แล้ว ฉะนั้น กระผม ก็ขอรับแด่สุขทุกข์ ทุกประการ ทุกประเด็น ไม่เกี่ยงเลี่ยง ครั้งแม้นจะขาดสิ้นใจ ลงตรงแด่ แต่คติข้อมูลนี้ ชนิดนี้ ก็เป็นอันว่าชอบแล้ว ที่สุด…
...จดหมาย Khao ลายสือไทย...
发表评论