星期日, 十月 03, 2021

Nirot

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 68/452/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถานิโรธอาทิผิด สระสัจนิทเทส
(๘๔)พึงทราบวินิจฉัยในนิโรธสัจนิทเทส ดังต่อไปนี้ ใน
บทนี้ว่า โย ตสฺสาเยว ตณฺหาย - การดับตัณหานั้นด้วยความคลาย
กำหนัดโดยไม่เหลือ ควรกล่าวว่า โย ตสฺเสว ทุกฺขสฺส - การดับทุกข์นั้น
ด้วยความคลายกำหนัดโดยไม่เหลือ เพราะทุกข์อาทิผิด ดับด้วยความดับสมุทัย.
มิใช่ดับด้วยประการอื่น. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
ยถาปิ มูเล อนุปทฺทเว ทฬฺเห
ฉินฺโนปิ รุกฺโข ปุนเรว รูหติ,
เอวมฺปิ ตณฺหานุสเย อนูหเต
นิพฺพตฺตี ทุกฺขมิทํ ปุนปฺปุนํ.๑.
เมื่อยังถอนตัณหานุสัยไม่ได้ ทุกข์นี้ย่อม
เกิดบ่อย ๆ เหมือนเมื่อรากไม้ยังแข็งแรง ไม่มี
อันตราย ต้นไม้แม้ตัดแล้ว ก็ยังงอกอีกได้.
เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงแสดงทุกขนิโรธนั้น จึง
ตรัสอย่างนี้เพื่อแสดงสมุทยนิโรธ. จริงอยู่ พระตถาคตทั้งหลายผู้มีความ
ประพฤติเสมอด้วยสีหะ, พระตถาคตเหล่านั้น เมื่อจะทรงดับทุกข์และ
เมื่อจะทรงแสดงการดับทุกข์ จึงทรงดำเนินไปในเหตุ, ไม่ทรงดำเนิน
๑. ขุ. ธ. ๒๕/๓๔.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: