星期三, 八月 31, 2022

Khruen Rop Kuan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 6/429/4  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ใดหรือคลื่นตามอาทิผิด อักขระปกติมาด้วยกำลังลม ย่อมท่วมประเทศใด ไม่ควรทำกรรมใน
ประเทศนั้น แต่คลื่นตามปกติเกิดขึ้นแล้ว หยุดอยู่แค่ประเทศใดประเทศนั้น
จำเดิมอาทิผิด อักขระแต่ชายน้ำลงไป จัดเป็นภายในทะเล ภิกษุทั้งหลายพึงตั้งอยู่ในประเทศ
นั้น ทำกรรมเถิด ถ้ากำลังคลื่นรบกวนอาทิผิด พึงสถิตอยู่บนเรือ หรือร้านกระทำ-
กรรม.
วินิจฉัยในเรือและร้านเหล่านั้น พึงทราบตามนัยที่กล่าวแล้วในแม่น้ำ
นั่นแล. ศิลาดาดมีอยู่ในทะเล. บางคราว คลื่นมาท่วมศิลาดาดนั้น บางคราวไม่
ท่วม ไม่ควรทำกรรมบนศิลาดาดนั้น. เพราะว่าศิลาดาดนั้น ย่อมนับเป็น
คามสีมาด้วย. แต่ถ้า เมื่อคลื่นมาก็ดี ไม่มาก็ดี ศิลาดาดนั้น อันน้ำตามปกตินั่น
เองท่วมอยู่ ย่อมควร.
เกาะหรือภูเขา มีอยู่ ถ้าเกาะหรือภูเขานั้น อยู่ในย่านไกลไม่เป็นทาง
ไปของพวกชาวประมง เกาะหรือภูเขานั้น ย่อมนับเข้าเป็นอรัญญสีมานั่นแล.
ส่วนร่วมในแห่งปลายทางเป็นที่เป็นไปของพวกชาวประมงเหล่านั้น นับเป็น
คามสีมา. . . ไม่ชำระคามสีมาให้เรียบร้อยแล้ว ทำกรรมที่เกาะภูเขานั้น ไม่ควร.
ทะเลท่วมคามสีมาหรือนิคมสีมาทั้งอยู่ คงเป็นทะเล, จะทำกรรมในทะเลนั้น
ย่อมควร. แต่ถ้าท่วมวิหารสีมา ย่อมถึงความนับว่า วิหารสีมา ด้วย.
อันภิกษุทั้งหลายผู้จะทำกรรมในชาตสระเล่า ในพรรษกาลมีประการ
ดังกล่าวแล้วในหนหลัง พอฝนขาด น้ำในสระใดไม่พอเพื่อจะดื่ม หรืออาบ
หรือล้างมือและเท้า แห้งหมด; สระนี้ไม่จัดเป็นชาตสระ ถึงความนับว่าเป็น
คามเขตนั่นเอง; ไม่ควรทำกรรมในสระนั้น. แต่ในพรรษาอาทิผิด สระกาลมีประการดังกล่าว
แล้ว น้ำขังอยู่ในสระใด สระนี้แลจัดเป็นชาตสระ. ตลอด ๔ เดือนฤดูฝนน้ำ
ขังอยู่ในประเทศเท่าใดแห่งชาตสระนั้น สมควรทำกรรมในประเทศเท่านั้นได้.
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 八月 30, 2022

Hai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 29/285/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พ. ขอถวายพระพรปัญหาข้อนี้ เป็นปัญหาที่อาตมภาพไม่พยากรณ์
ป. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ สัตว์เบื้องหน้าแต่ตายแล้ว ย่อมเกิดอีก
หามิได้ ย่อมไม่เกิดอีกก็หามิได้หรือ.
พ. ขอถวายพระพร แม้ปัญหาข้อนี้ก็เป็นปัญหาที่อาตมภาพไม่
พยากรณ์อีกนั่นแหละ.
ป. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เมื่อข้าพระองค์ทูลถามว่า สัตว์เบื้องหน้า
แต่ตายแล้วย่อมเกิดอีกหรือ พระองค์ก็ตรัสตอบว่า ขอถวายพระพร ปัญหา
ข้อนี้เป็นปัญหาที่อาตมภาพไม่พยากรณ์ ฯลฯ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เมื่อ
ข้าพระองค์ทูลถามว่า สัตว์เบื้องหน้าแต่ตายแล้วย่อมเกิดอีกก็หามิได้ ย่อม
ไม่เกิดอีก ก็หามิได้หรือ พระองค์ก็ตรัสตอบว่า ขอถวายพระพร แม้ปัญหา
ข้อนี้ก็เป็นปัญหาที่อาตมภาพไม่พยากรณ์อีกนั่นแหละ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
อะไรเล่าเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้อาทิผิด สระพระผู้มีพระภาคเจ้าไม่พยากรณ์ปัญหาข้อนั้น
[๗๕๙] พ. ขอถวายพระพร ถ้าอย่างนั้น อาตมภาพจักย้อนถาม
มหาบพิตรในปัญหาข้อนั้นบ้าง ปัญหาข้อนั้นพอพระทัยมหาบพิตรอย่างใด
มหาบพิตรพึงทรงพยากรณ์ปัญหาข้อนั้นอย่างนั้นเถิด ขอถวายพระพร
มหาบพิตรจะทรงสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน มหาบพิตรทรงมีนักคำนวณ
นักประเมิน หรือนักประมาณไรๆ ซึ่งสามารถจะคำนวณเม็ดทรายในแม่น้ำ
คงคาว่า เม็ดทรายมีประมาณเท่านี้ ฯลฯ หรือว่ามีทรายประมาณเท่านี้
แสนเม็ดหรือไม่.
ป. ไม่มีเลย พระเจ้าข้า.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 八月 28, 2022

Phueng

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/470/2  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อำมาตย์บางพวกกราบทูลอย่างนี้ว่า ขอเดชะ พวกข้าพระพุทธเจ้า
จะพึงตัดมือ จะพึงตัดเท้า จะพึงอาทิผิด อาณัติกะตัดทั้งมือและเท้า จะพึงตัดหู จะพึงตัดจมูก
จะพึงตัดทั้งอาทิผิด อาณัติกะหูและจมูก จะพึงตัดศีรษะพระพุทธเจ้าข้า.
พระเจ้าพรหมทัตกาสิกราชตรัสว่า พ่อนายทั้งหลาย ชายหนุ่มผู้นี้แล
คือ ทีฆาวุราชกุมารโอรสของพระเจ้าทีฆีติโกศลราชคนนั้น ชายหนุ่มผู้นี้ใคร ๆ
จะทำอะไรไม่ได้ เพราะชายหนุ่มผู้นี้ได้ให้ชีวิตแก่เรา และเราก็ได้ให้ชีวิตแก่
ชายหนุ่มผู้นี้ ครั้นแล้วได้ตรัสถามความข้อนี้แก่ทีฆาวุราชกุมารว่า พ่อทีฆาวุ
พระชนกของเธอได้ตรัสคำใดไว้ เมื่อใกล้จะสวรรคตว่า พ่อทีฆาวุ เจ้าอย่า
เห็นแก่ยาว เจ้าอย่าเห็นแก่สั้น เวรทั้งหลายย่อมไม่ระงับเพราะเวรเลย แต่เวร
ทั้งหลายย่อมระงับได้ เพราะไม่จองเวร ดังนี้ พระชนกของเธอได้ตรัสคำอาทิผิด อักขระนั้น
หมายความว่าอย่างไร ?
ทีฆาวุราชกุมารกราบทูลว่า ขอเดชะ พระชนกของข้าพระพุทธเจ้าได้
ตรัสพระบรมราโชวาทอันใดแลไว้เมื่อใกล้จะสวรรคตว่า เจ้าอย่าเห็นแก่ยาว ดัง
นี้หมายความว่า เจ้าอย่าได้จองเวรให้ยืดเยื้อ เพราะฉะนั้น พระชนกของข้า
พระพุทธเจ้า จึงได้ตรัสพระบรมราโชวาทอันนี้แลไว้เมื่อใกล้จะสวรรคตว่า เจ้า
อย่าเห็นแก่ยาว พระชนกของข้าพระพุทธอาทิผิด สระเจ้า ได้ตรัสพระบรมราโชวาทอันใด
แลไว้เมื่อใกล้จะสวรรคตว่า เจ้าอย่าเห็นแก่สั้น ดังนี้ หมายความว่า เจ้าอย่า
แตกร้าวจากมิตรเร็วนัก เพราะฉะนั้น พระชนกของข้าพระพุทธเจ้า จึงได้ตรัส
พระบรมราโชวาทอันนี้แลไว้เมื่อใกล้จะสวรรคตว่า เจ้าอย่าเห็นแก่สั้น พระชนก
ของข้าพระพุทธเจ้าได้ตรัสพระบรมราโชวาทอันใดแลไว้ เมื่อใกล้จะสวรรคต
ว่า พ่อทีฆาวุ เวรทั้งหลาย ย่อมไม่ระงับเพราะเวรเลย แต่ย่อมระงับได้เพราะ
ไม่จองเวร ดังนี้ หมายความว่าพระชนกชนนีของข้าพระพุทธเจ้า ถูกพระองค์
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 八月 26, 2022

Thang lai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 29/117/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ดูก่อนผู้มีอายุทั้งหลายอาทิผิด ก็บุคคลเมื่อจะพูดให้ถูก พึงพูดคำใดว่า สาวกอัน
พระศาสดาทรงอาทิผิด อนุเคราะห์แล้ว ถึงความเป็นผู้รู้ยิ่งใหญ่ บุคคลเมื่อจะพูด
ให้ถูก พึงพูดคำนั้นกะเราว่า สาวกอันพระศาสดาทรงอนุเคราะห์แล้วถึง
ความเป็นผู้รู้ยิ่งใหญ่.
[๕๒๔] ครั้งนั้นแล ท่านพระมหาโมคคัลลานะหายจากพระวิหาร
เชตวันไปปรากฏในดาวดึงสเทวโลก เหมือนบุรุษมีกำลังพึงเหยียดแขนที่
คู้ หรือพึงคู้อาทิผิด อักขระแขนที่เหยียด ฉะนั้น ครั้งนั้นแล ท้าวสักกะจอมเทพกับ
เทวดา ๕๐๐ องค์ เข้าไปหาท่านพระโมคคัลลานะถึงที่อยู่ ไหว้ท่านพระ-
มหาโมคคัลลานะแล้ว ได้ประทับยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว
ท่านพระมหาโมคคัลลานะได้พูดกะท้าวสักกะจอมเทพว่า ดูก่อนจอมเทพ
การถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะดีนัก เพราะเหตุแห่งการถึงพระพุทธเจ้าเป็น
สรณะ สัตว์บางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกายตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลก
สวรรค์ การถึงพระธรรมเป็นสรณะดีนัก การถึงพระสงฆ์เป็นสรณะดีนัก
เพราะเหตุแห่งการถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ สัตว์บางพวกในโลกนี้ เมื่อแตก
กายตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ท้าวสักกะจอมเทพตรัสว่า ข้าแต่
พระโมคคัลลานะผู้นิรทุกข์ การถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะอาทิผิด อักขระดีนัก เพราะเหตุ
แห่งการถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ สัตว์บางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกาย
ตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ การถึงพระธรรมเป็นสรณะดีนัก . . .
การถึงพระสงฆ์เป็นสรณะดีนัก เพราะเหตุแห่งการถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ
สัตว์บางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกายตายไปย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์.
จบ อนิมิตตปัญหาสูตรที่ ๙
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 八月 24, 2022

Appanihitta

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 2/479/1  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญอัปปณิหิตอาทิผิด สมาธิ ด้วยอาการ
อย่างอาทิผิด สระ . .๔ อย่าง . . .๕ อย่าง. . . ๖ อย่าง. . .๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า
จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าว
เท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบ
๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า อัปปณิหิตสมาธิข้าพเจ้าทำให้แจ้งแล้ว ด้วย
อาการ ๓ อย่าง. . .๔ อย่าง. . .๕ อย่าง. . . ๖ อย่าง. . .๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้น
เธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพราง
ความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.

สุทธิกสมาบัติ
สุญญตสมาบัติ
[๒๔๖] ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาบัติแล้ว ด้วย
อาการ ๓ อย่าง. . .๔ อย่าง. . .๕ อย่าง. . .๖ อย่าง. .๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้น
เธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพราง
ความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.
ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาบัติอยู่ ด้วยอาการ
๓ อย่าง. . .๔ อย่าง. . .๕ อย่าง. . .๖ อย่าง. . .๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า
จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าว
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 八月 23, 2022

Som

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 55/17/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เครื่องปูลาดอันงดงาม ที่อยู่พออยู่อาศัยได้อย่างผาสุก ความพร้อมมูลแห่ง
เรือนของเรา ปรากฏเหมือนจะมียิ่งกว่านี้ ดังนี้เลือกเฟ้นโทษของบรรณศาลา
อยู่ ก็ได้เห็นโทษ ๘ ประการ. จริงอยู่ในการใช้สอยบรรณศาลามีโทษ ๘
ประการ คือ จะต้องแสวงหาด้วยการรวบรวมขึ้นด้วยทัพสัมภาระที่มีน้ำหนัก
มากกระทำ เป็นโทษข้อหนึ่ง จะต้องซ่อมอาทิผิด อักขระแซมอยู่เป็นนิตย์ เพราะเมื่อหญ้า
ใบไม้และดินเหนียวร่วงหล่นลงมาจะต้องเอาของเหล่านั้น วางไว้ที่เดิมแล้ว ๆ
เล่า ๆ เป็นโทษข้อที่ ๒ ธรรมดาเสนาสนะจะต้องตกแก่คนแก่ก่อน เมื่อ
เขาเข้ามาให้เราลุกขึ้นในเวลาที่ไม่เหมาะ ความแน่วแน่แห่งจิตก็จะมีไม่ได้
เพราะฉะนั้น การที่ถูกปลุกให้ลุกขึ้นจึงเป็นโทษข้อที่ ๓ เพราะกำจัดเสียได้ซึ่ง
หนาวและร้อน ก็จะทำให้ร่างกายบอบบาง (ไม่แข็งแรง) เป็นโทษข้อที่ ๔
คนเข้าไปสู่เรือนอาจทำความชั่วอย่างใดอย่างหนึ่งได้ เพราะฉะนั้น การที่ปก
ปิดสิ่งน่าติเตียน เป็นโทษข้อที่ ๕ การหวงแหนด้วยคิดว่าเป็นของเรา เป็น
โทษข้อที่ ๖ ธรรมดาการมีเรือนแสดงว่าต้องมีภรรยา เป็นโทษข้อที่ ๗ เป็น
ของทั่วไปแก่คนอาทิผิด อักขระหมู่มาก เพราะเป็นสาธารณะแก่สัตว์มีเล็น เรือด และตุ๊กแก
เป็นต้น เป็นโทษข้อที่ ๘. บทว่า อิเม ความว่า พระมหาสัตว์เห็นโทษ
๘ ประการเหล่านี้ แล้วจึงเลิกละบรรณศาลา. เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า
เราเลิกละบรรณศาลาที่เกลื่อนกล่นด้วยโทษ ๘ ประการ.
บทว่า อุปาคมึ รุกฺขมูลํ คุเณ ทสหุปาคตํ ความว่า พระมหา-
สัตว์กล่าวว่า เราห้ามที่มุงบัง เข้าหาโคนต้นไม้ที่ประกอบด้วยคุณ ๑๐ ประการ
ในข้อนั้น คุณ ๑๐ ประการมีดังต่อไปนี้ มีความยุ่งยากน้อยเป็นคุณข้อที่ ๑ เพราะ
เพียงแต่เข้าไปเท่านั้นก็อยู่ที่นั่นได้ เพราะฉะนั้นจึงไม่ต้องดูแลรักษา เป็นคุณ
ข้อที่ ๒ ก็ที่นั้น จะปัดอาทิผิด อักขระกวาดก็ตาม ไม่ปัดกวาดก็ตาม ก็ใช้สอยได้อย่างสบาย
เหมือนกัน การที่ไม่ต้องบากบั่นนัก เป็นคุณข้อที่ ๓ ที่นั้น ปกปิดความนินทา
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 八月 21, 2022

Lai Tua

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 8/450/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
หมวดที่ ๕
[๕๗๐] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ต้อง
อาบัติสังฆาทิเสสหลายตัว มีประมาณบ้าง ไม่มีประมาณบ้าง มีชื่ออย่าง
เดียวกันบ้าง มีชื่อต่างกันบ้าง เป็นสภาคกันบ้าง ไม่เป็นสภาคกันบ้าง
กำหนดได้บ้าง เจือกันบ้าง เธอขอสโมธานปริวาส เพื่ออาบัติเหล่านั้น
กะสงฆ์ สงฆ์ให้สโมธานปริวาส เพื่ออาบัติเหล่านั้นแก่เธอ เธอกำลัง
อยู่ปริวาสต้องอาบัติสังฆาทิเสสหลายตัวในระหว่าง ไม่มีประมาณ ปิดบัง
ไว้ จึงขอการชักเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติในระหว่างกะสงฆ์ สงฆ์
ชักเธอเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติในระหว่าง ด้วยกรรมอันเป็นธรรม
ไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ ให้สโมธานปริวาสในธรรม ให้มานัตโดยไม่
เป็นธรรม อัพภานโดยไม่เป็นธรรม ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุนั้นยัง
ไม่หมดจดจากอาบัติเหล่านั้น.
หมวดที่ ๖
[๕๗๑] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ต้อง
อาบัติสังฆาทิเสสหลายตัว มีประมาณบ้าง ไม่มีประมาณบ้าง มีชื่ออย่าง
เดียวกันบ้าง มีชื่อต่างกันบ้าง เป็นสภาคกันบ้าง ไม่เป็นสภาคกันบ้าง
กำหนดได้บ้าง เจือกันบ้าง เธอขอสโมธานปริวาส เพื่ออาบัติเหล่านั้น
กะสงฆ์ สงฆ์ให้สโมธานปริวาส เพื่ออาบัติเหล่านั้นแก่เธอ เธอกำลัง
อยู่ปริวาสต้องอาบัติสังฆาทิเสสหลายตัวอาทิผิด ในระหว่าง ไม่มีประมาณ
ปิดบังไว้บ้าง ไม่ได้ปิดบังไว้บ้าง จึงขอการชักเข้าหาอาบัติเดิม เพื่อ
อาบัติในระหว่างกะสงฆ์ สงฆ์ชักเธอเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติใน
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 八月 18, 2022

Kilet

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 75/160/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ที่ชื่อว่า อุปาทานิยะ เพราะเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่อุปทานทั้งหลาย โดย
เข้าถึงความเป็นอารมณ์แล้วสัมพันธ์กับอุปาทาน. คำว่า อุปาทานิยะ นี้
เป็นชื่อของธรรมที่เป็นอารัมมณปัจจัยของอุปาทาน. ชื่อว่า อุปาทินนุปาทา-
นิยะ เพระอรรถว่า เป็นอุปาทินนะด้วยเป็นอุปาทานิยะด้วย คำว่า อุปา-
ทินนุปาทานิยะ นี้ เป็นชื่อของรูปธรรมและอรูปธรรมทั้งหลายอันบังเกิดขึ้น
ด้วยกรรมที่มีอาสวะ. ใน ๒ บทที่เหลือ พึงทราบเนื้อความอันประโยชน์เกื้อกูล
แก่การปฏิเสธโดยนัยนี้.

ว่าด้วยสังกิลิฏฐติกะที่ ๕

พึงทราบวินิจฉัยในหมวด ๓ แห่งสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ต่อไป
ธรรมที่ชื่อว่า สังกิเลส เพราะอรรถว่า ยังสัตว์ให้เศร้าหมอง.
อธิบายว่า ย่อมเบียดเบียน คือให้สัตว์เร่าร้อน. ที่ชื่อว่า สังกิลิฏฐะ เพราะ
ประกอบพร้อมแล้วด้วยสังกิเลส. ชื่อว่า สังกิเลสิกะ เพราะอรรถว่า ย่อม
ควรแก่สังกิเลสโดยทำตนให้เป็นอารมณ์เป็นไป หรือว่าเข้าไปประกอบใน
สังกิเลส โดยความไม่ก้าวล่วงความเป็นอารมณ์ของสังกิเลสนั้น. คำว่า สังกิเล-
สิกะ นี้ เป็นชื่อของธรรมทั้งหลายที่เป็นอารัมมณปัจจัยของสังกิเลส. ชื่อว่า
สังกิลิฏฐสังกิเลสิกะ เพราะอรรถว่า ธรรมเหล่านั้นเป็นสังกิลิฎฐะด้วยเป็น
สังกิเลสิกะด้วย สอง บทที่เหลือ พึงทราบโดยนัยที่กล่าวไว้ในติกะต้นนั่นแหละ.

ว่าด้วยวิตักกติกะที่ ๖

พึงทราบวินิจฉัยในหมวด ๓ แห่งวิตักกะ ต่อไป.
ธรรมที่ชื่อว่า สวิตักกะ เพราะเป็นไปกับด้วยวิตก คือเป็นไปอยู่
ด้วยสู่สามารถแห่งสัมปโยคะ ธรรมที่ชื่อว่า สวิจาระ เพราะเป็นไปกับด้วยวิจาระ
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 八月 15, 2022

Sima

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 6/406/3  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สีมานั้นใดอันสงฆ์สมมติ
ไว้แล้ว ให้มีสังวาสเสมอกัน ให้มีอุโบสถเดียวกัน สงฆ์ถอนอยู่ บัด
นี้ซึ่งสีมานั้น การถอนสีมาอาทิผิด สระมีสังวาสเสมอกัน มีอุโบสถเดียวกันนี้
ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่าน
ผู้นั้นพึงพูด.
สีมามีสังวาสเสมอกัน มีอุโบสถเดียวกันนั้น อันสงฆ์ถอน
แล้ว ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.

อพัทธสีมา
[๑๖๔] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อสงฆ์ยังไม่ได้สมมติ ยังไม่ได้กำหนด
สีมา ภิกขุเข้าอาศัยบ้านหรือนิคมใดอยู่ เขตของบ้านนั้น เป็นคามสีมาบ้าง เขต
ของนิคมนั้น เป็นนิคมสีมาบ้าง สีมานี้มีสังวาสเสมอกัน มีอุโบสถเดียวกัน
ในบ้านหรือนิคมนั้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าในป่าหาคนตั้งบ้านเรือนเมื่อได้ ชั่ว ๗ อัพภันดร
โดยรอบ เป็นสัตตัพภันตรสีมา สีมานี้มีสังวาสเสมอกัน มีอุโบสถเดียวกันใน
ป่านั้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม่น้ำทั้งหมด สมมติเป็นสีมาไม่ได้ สมุทรทั้ง
หมด สมมติเป็นสีมาไม่ได้ ชาตสระทั้งหมด สมมติเป็นสีมาอาทิผิด อักขระไม่ได้.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในแม่น้ำ ในสมุทร หรือในชาตสระ ชั่ววัก
น้ำสาด โดยรอบแห่งบุรุษผู้มีกำลังปานกลาง เป็นอุทกุกเขปสีมา สีมานี้มีสังวาส
เสมอกัน มีอุโบสถเดียวกัน ในน่านน้ำนั้น.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 八月 14, 2022

Manop

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 11/111/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
จริงอย่างนั้น เอวํ ศัพท์นี้ ที่มาในความเปรียบเทียบ เช่น ในประ-
โยคมีอาทิว่า เอวํ ชาเตน มจฺเจน กตฺตพฺพํ กุสลํ พหุํ สัตว์เกิด
มาแล้วควรบำเพ็ญกุศลให้มาก ฉันนั้น.
ที่มาในความแนะนำ เช่นในประโยคมีอาทิว่า เอวํ เต อภิกฺกมิ-
ตพฺพํ เอวํ ปฏิกฺกมิตพฺพํ เธอพึงก้าวไปอย่างนี้ พึงถอยกลับอย่างนี้.
ที่มาในความยกย่อง เช่นในประโยคมีอาทิว่า เอวเมตํ ภควา
เอวเมตํ สุคต ข้อนั้นเป็นอย่างนี้พระผู้มีพระภาคเจ้า ข้อนั้นเป็นอย่างนี้
พระสุคต.
ที่มาในความติเตียน เช่นในประโยคมีอาทิว่า เอวเมวํ ปนายํ
วสลี ยสฺมิํ วา ตสฺมิํอาทิผิด สระ วา ตสฺส มุณฺฑกสฺส สมณกสฺส วณฺณํ ภาสติ
ก็หญิงถ่อยนี้ กล่าวสรรเสริญสมณะโล้นนั้น อย่างนี้อย่างนี้ ทุกหนทุกแห่ง.
ที่มาในความรับคำ เช่นในประโยคมีอาทิว่า เอวํ ภนฺเตติ โข
เต ภิกขู ภควโตอาทิผิด อักขระ ปจฺจสฺโสสุํ ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระดำรัสของพระ
ผู้มีพระภาคเจ้าว่า อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
ที่มาในอาการะ เช่นในประโยคมีอาทิว่า เอวํ พฺยาโข อหํ ภนฺเต
ภควตา ธมฺมํ เทสิตํ อาชานามิ ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าย่อมรู้ทั่ว
ถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงแล้วอย่างนี้จริง.
ที่มาในความชี้แจง เช่นในประโยคมีอาทิว่า เอหิ ตฺวํ มาณวกอาทิผิด อักขระ
เยน สมโณ อานนฺโท เตนุปสงฺกม อุปสงฺกมิตฺวา มม วจเนน สมณํ
อานนฺทํ อปฺปาพาธํ อปฺปาตงฺกํ ลหุฏฺฐานํ พลํ ผาสุวิหารํ ปุจฺฉ
สุโภ มาณโว โตเทยฺยปุตฺโต ภวนฺตํ อานนฺทํ อปฺปาพาธํ อปฺปาตงฺกํ
ลหุฏฺฐานํ พลํ ผาสุวิหารํ ปุจฺฉตีติ เอวญฺจ วเทหิ สาธุ กิร ภวํ
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 八月 12, 2022

Abyakata

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 75/1/10  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระอภิธรรมปิฎก

เล่มที่ ๑ ภาคที่ ๑

ธรรมสังคณี

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

มาติกา

ติกมาติกา ๒๒ ติกะ

[๑] ๑. กุสลติกะ
กุสลา ธมฺมา ธรรมเป็นกุศล
อกุสลา ธมฺมา ธรรมเป็นอกุศล
อพฺยากตาอาทิผิด อักขระ ธมฺมา ธรรมเป็นอัพยากฤต

๒. เวทนาติกะ

สุขาย เวทนา สมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยสุขเวทนา
ทุกฺขาย เวทนาย สมฺปยุตฺตา ธมฺมา ธรรมสัมปยุตด้วยทุกขเวทนา
อทุกฺขมสุขาย เวทนาย สมฺปยุตฺตา ธรรมสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
ธมฺมา
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 八月 10, 2022

Anti

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 75/157/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
นี้นั้น เป็นชื่อเหตุแห่งความสุข) ใช้ในอรรถว่า สุขปัจจยฐาน ดังในประโยค
มีอาทิว่า ยาวญฺจิทํ ภิกฺขเว น สุกรํ อกฺขาเนน ปาปุณิตุํ ยาว สุขา
สคฺคา น เต สุขํ ปชานนฺติ เย น ปสฺสนฺติ นนฺทนํ (ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย การถึงฐานะอันเป็นปัจจัยของความสุข ด้วยการบอกเล่านี้ มิใช่
ทำได้โดยง่าย และคำว่า เทวดาเหล่าใด ไม่เห็นนันทนวัน . .. เทวดาเหล่านั้น
ย่อมไม่รู้ฐานะอันเป็นปัจจัยของความสุข) ใช้ในอรรถว่า อัพยาปัชฌะ ดัง
ประโยคมีอาทิว่า ทิฏฺฐธมฺมสุขวิหารา เอเต ธมฺมา (ธรรมเหล่านี้ เป็น
เครื่องอยู่ ไม่เบียดเบียนในปัจจุบัน) ใช้ในอรรถว่า นิพพาน ดังในประโยคว่า
นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ (พระนิพพานเป็นความสุขอย่างยิ่ง) แต่ในที่นี้ สุขศัพท์นี้
ใช้ในสุขเวทนาเท่านั้น. เวทนาศัพท์ใช้ในอรรถว่า เสวยอารมณ์เท่านั้น ดัง
ประโยคมีอาทิว่า วิทิตา เม เวทนา อุปฺปชฺชนฺติอาทิผิด (เวทนาของเราตถาคต
กำลังปรากฏเกิดขึ้น) ย่อมสมควร.

ว่าด้วยทุกขเวทนา

ทุกขศัพท์ ท่านใช้ในอรรถหลายอย่าง มีคำว่า ทุกขเวทนา ทุกขวัตถุ
ทุกขารัมมณา ทุกขปัจจยฐานะ เป็นต้น.
จริงอยู่ ทุกขศัพท์นี้ ใช้ในอรรถว่า ทุกขเวทนา ดังในประโยค
มีอาทิว่า ทุกฺขสฺส จ ปหานา (เพราะละทุกขเวทนาได้) ใช้ในอรรถว่า
ทุกขวัตถุ ดังในประโยคมีอาทิว่า ชาติปิ ทุกฺขา (แม้ความเกิดก็เป็นที่ตั้ง
ของทุกข์) ใช้ในอรรถว่า ทุกขารมณ์ ดังในประโยคมีอาทิว่า ยสฺมา จ โข
มหาลิ รูปํ ทุกขํ ทุกฺขานุปติตํ ทุกฺขาโวกฺกนฺตํ (ดูก่อนมหาลิ
ก็เพราะเหตุรูปอารมณ์เป็นทุกข์ ถูกทุกข์ติดตาม หยั่งลงสู่ความทุกข์) ใช้ใน
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 八月 07, 2022

Sat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 67/674/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บทว่า จีวรเขตฺตํ เขตของจีวร คือเขตมี ๖ เพราะเกิดขึ้นอย่างนี้
คือจากสงฆ์ ๑ จากคณะ ๑ จากญาติ ๑ จากมิตร ๑ จากทรัพย์
ของตน ๑ เป็นผ้าบังสุกุลอาทิผิด สระ ๑ พึงทราบเขต ๘ ด้วยสามารถแห่ง
มาติกา ๘.
บทว่า ปํสุกูลํ ผ้าบังสุกุลอาทิผิด สระ พึงทราบผ้าบังสุกุล ๒๓ ชนิด คือผ้า
ได้จากป่าช้า ๑ ผ้าเขาทิ้งไว้ตามตลาด ๑ ผ้าตามถนน ๑ ผ้าตามกอง
หยากเยื่อ ๑ ผ้าเช็ดครรภ์ ๑ ผ้าที่ตกอยู่ในที่อาบน้ำ ๑ ผ้าที่ตกอยู่ที่
ท่าน้ำ ๑ ผ้าห่อศพ ๑ ผ้าถูกไฟไหม้ ๑ ผ้าที่โคเคี้ยวกิน ๑ ผ้าปลวก
กัด ๑ ผ้าที่หนูกัด ๑ ผ้าที่ขาดข้างใน ๑ ผ้าขาดชาย ๑ ผ้าธง ๑
ผ้าบูชาสถูป ๑ ผ้าสมณจีวร ๑ ผ้าที่สมุทรซัดขึ้นบก ๑ ผ้าอภิเษก
(ผ้าที่เขาทิ้งในพิธีราชาภิเษก) ๑ ผ้าเดินทาง ๑ ผ้าถูกลมพัดมา ๑
ผ้าสำเร็จด้วยฤทธิ์ ๑ ผ้าเทวดาให้ ๑.
ในบทเหล่านี้ บทว่า โสตฺถิยํ คือ ผ้าเช็ดมลทินครรภ์ (ผ้าใช้ใน
การตลอดบุตร). บทว่า คตปจฺจาคตํ ผ้าคลุมศพ คือผ้าที่เขาคลุมศพ
นำไปป่าช้าแล้วเอามาใช้เป็นจีวร. บทว่า ธชาหฏํ คือ ผ้าที่เขายกขึ้น
เป็นธงแล้วนำมา. บทว่า ถูปํ คือ ผ้าที่เขาบูชาที่จอมปลวก. บทว่า
สามุทฺทิยํ คือ ผ้าที่ถูกคลื่นในทะเลซัดอาทิผิด อักขระขึ้นบก. บทว่า ปฏฺฐิกํ คือ ผ้าที่
คนเดินทางเอาหินทุบเพราะกลัวโจรแล้วนำมาห่ม. บทว่า อิทฺธิมยํ คือ
ผ้าของเอหิภิกขุ. บทที่เหลือ ชัดดีแล้ว.
บทว่า จีวรสนฺโตโส คือ สันโดษด้วยจีวร ๒๐ ชนิด คือวิตักก-
สันโดษ สันโดษในการตรึก ๑ คมนสันโดษ สันโดษในการไป ๑ ปริเยสน-
สันโดษ สันโดษในการแสวงหา ๑ ปฏิลาภสันโดษ สันโดษในการได้ ๑
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 八月 05, 2022

Bang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 4/351/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ภูตคามวรรค สิกขาบทที่ ๑๐
เรื่องภิกษุชาวรัฐอาฬวี
[๔๐๒] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ อัคคา-
ฬวเจดีย์ เขตรัฐอาฬวี ครั้งนั้นพวกภิกษุชาวรัฐอาฬวี กำลังกระทำนวกรรม
รู้อยู่ว่าน้ำมีตัวสัตว์ จึงรดเองบ้าง ให้คนอื่นรดบ้าง ซึ่งหญ้าบ้าง ดินบ้าง
บรรดาภิกษุที่มักน้อย . . .ต่างก็เพ่งโทษติเตียน โพนทะนาว่า ไฉน พวกภิกษุ
ชาวรัฐอาฬวีรู้อยู่ว่าน้ำมีตัวสัตว์ จึงได้รดเองบ้าง ให้คนอื่นรดบ้าง ซึ่งหญ้าบ้าง
ดินบ้างเล่า แล้วกราบทูลเนื้อความนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า . . .
ทรงสอบถาม
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงสอบถามภิกษุชาวรัฐอาฬวีว่า ดูก่อนภิกษุ-
ทั้งหลาย ข่าวว่าพวกเธอรู้อยู่ว่าน้ำมีตัวสัตว์ รดเองบ้าง ให้คนอื่นรดบ้าง
ซึ่งหญ้าบ้าง ดินบ้าง จริงหรือ.
พวกภิกษุชาวรัฐอาฬวีทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
ทรงติเตียน
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษทั้งหลาย พวก
เธอรู้อยู่ว่าน้ำมีตัวสัตว์ ไฉนจึงได้รดเองบ้าง ให้คนอื่นรดบ้าง ซึ่งหญ้าบ้างอาทิผิด อาณัติกะ
ดินบ้าง การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่
ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว . . .
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้
ว่าดังนี้:-
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 八月 04, 2022

Mi Hai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 6/170/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
มีชื่อนี้ เป็นอุปัชฌายะ สงฆ์อุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็น
อุปัชฌายะ การอุปสมบทผู้มีชื่อนี้ มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ
ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่าน
ผู้นั้นพึงพูด.
ข้าพเจ้ากล่าวความนี้เป็นครั้งที่สอง...
ข้าพเจ้ากล่าวความนี้เป็นครั้งที่สาม...
ผู้มีชื่อนี้ สงฆ์อุปสมบทแล้ว มีท่านผู้มีชื่อนี้เป็นอุปัชฌายะ
ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.

พราหมณ์ขออุปสมบท
[๘๗] ก็โดยสมัยนั้นแล ประชาชนทั้งหลายได้จัดตั้งลำดับภัตตาหาร
อันประณีตไว้ที่ในพระนครราชคฤห์ ครั้งนั้น พราหมณ์คนหนึ่งได้มีความดำริ
ว่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ มีปรกติเป็นสุข มีความประพฤติอาทิผิด อักขระ
สบายฉันโภชนะที่ดี นอนบนที่นอนที่เงียบสงัด ถ้ากระไร เราพึงบวชในพระ
สมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเถิด ดังนี้ แล้วได้เข้าไปหาภิกษุทั้งหลาย แล้ว
ขอบรรพชา ภิกษุทั้งหลายให้เขาบรรพชาอุปสมบทแล้ว ครั้นเขาบวชแล้ว
ประชาชนให้เลิกลำดับภัตตาหารเสีย ภิกษุทั้งหลายกล่าวอย่างนี้ว่า คุณจงมา
เดี๋ยวนี้ พวกเราจักไปบิณฑบาต เธอพูดอย่างนี้ว่า กระผมมิได้บวชเพราะเหตุ
นี้ว่า จักเที่ยวบิณฑบาต ถ้าท่านทั้งหลายให้กระผม กระผมจักฉัน ถ้าไม่ให้อาทิผิด สระ
กระผม กระผมจะสึก ขอรับ.
พวกภิกษุถามว่า อาวุโส ก็คุณบวชเพราะเหตุแห่งท้องหรือ ?
เธอตอบว่า อย่างนั้น ขอรับ.
 
พระปิฎกธรรม