Khruen Rop Kuan
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/429/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ใดหรือคลื่นตามอาทิผิด อักขระปกติมาด้วยกำลังลม ย่อมท่วมประเทศใด ไม่ควรทำกรรมใน
ประเทศนั้น แต่คลื่นตามปกติเกิดขึ้นแล้ว หยุดอยู่แค่ประเทศใดประเทศนั้น
จำเดิมอาทิผิด อักขระแต่ชายน้ำลงไป จัดเป็นภายในทะเล ภิกษุทั้งหลายพึงตั้งอยู่ในประเทศ
นั้น ทำกรรมเถิด ถ้ากำลังคลื่นรบกวนอาทิผิด พึงสถิตอยู่บนเรือ หรือร้านกระทำ-
กรรม.
วินิจฉัยในเรือและร้านเหล่านั้น พึงทราบตามนัยที่กล่าวแล้วในแม่น้ำ
นั่นแล. ศิลาดาดมีอยู่ในทะเล. บางคราว คลื่นมาท่วมศิลาดาดนั้น บางคราวไม่
ท่วม ไม่ควรทำกรรมบนศิลาดาดนั้น. เพราะว่าศิลาดาดนั้น ย่อมนับเป็น
คามสีมาด้วย. แต่ถ้า เมื่อคลื่นมาก็ดี ไม่มาก็ดี ศิลาดาดนั้น อันน้ำตามปกตินั่น
เองท่วมอยู่ ย่อมควร.
เกาะหรือภูเขา มีอยู่ ถ้าเกาะหรือภูเขานั้น อยู่ในย่านไกลไม่เป็นทาง
ไปของพวกชาวประมง เกาะหรือภูเขานั้น ย่อมนับเข้าเป็นอรัญญสีมานั่นแล.
ส่วนร่วมในแห่งปลายทางเป็นที่เป็นไปของพวกชาวประมงเหล่านั้น นับเป็น
คามสีมา. . . ไม่ชำระคามสีมาให้เรียบร้อยแล้ว ทำกรรมที่เกาะภูเขานั้น ไม่ควร.
ทะเลท่วมคามสีมาหรือนิคมสีมาทั้งอยู่ คงเป็นทะเล, จะทำกรรมในทะเลนั้น
ย่อมควร. แต่ถ้าท่วมวิหารสีมา ย่อมถึงความนับว่า วิหารสีมา ด้วย.
อันภิกษุทั้งหลายผู้จะทำกรรมในชาตสระเล่า ในพรรษกาลมีประการ
ดังกล่าวแล้วในหนหลัง พอฝนขาด น้ำในสระใดไม่พอเพื่อจะดื่ม หรืออาบ
หรือล้างมือและเท้า แห้งหมด; สระนี้ไม่จัดเป็นชาตสระ ถึงความนับว่าเป็น
คามเขตนั่นเอง; ไม่ควรทำกรรมในสระนั้น. แต่ในพรรษาอาทิผิด สระกาลมีประการดังกล่าว
แล้ว น้ำขังอยู่ในสระใด สระนี้แลจัดเป็นชาตสระ. ตลอด ๔ เดือนฤดูฝนน้ำ
ขังอยู่ในประเทศเท่าใดแห่งชาตสระนั้น สมควรทำกรรมในประเทศเท่านั้นได้.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论