星期二, 八月 23, 2022

Som

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 55/17/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เครื่องปูลาดอันงดงาม ที่อยู่พออยู่อาศัยได้อย่างผาสุก ความพร้อมมูลแห่ง
เรือนของเรา ปรากฏเหมือนจะมียิ่งกว่านี้ ดังนี้เลือกเฟ้นโทษของบรรณศาลา
อยู่ ก็ได้เห็นโทษ ๘ ประการ. จริงอยู่ในการใช้สอยบรรณศาลามีโทษ ๘
ประการ คือ จะต้องแสวงหาด้วยการรวบรวมขึ้นด้วยทัพสัมภาระที่มีน้ำหนัก
มากกระทำ เป็นโทษข้อหนึ่ง จะต้องซ่อมอาทิผิด อักขระแซมอยู่เป็นนิตย์ เพราะเมื่อหญ้า
ใบไม้และดินเหนียวร่วงหล่นลงมาจะต้องเอาของเหล่านั้น วางไว้ที่เดิมแล้ว ๆ
เล่า ๆ เป็นโทษข้อที่ ๒ ธรรมดาเสนาสนะจะต้องตกแก่คนแก่ก่อน เมื่อ
เขาเข้ามาให้เราลุกขึ้นในเวลาที่ไม่เหมาะ ความแน่วแน่แห่งจิตก็จะมีไม่ได้
เพราะฉะนั้น การที่ถูกปลุกให้ลุกขึ้นจึงเป็นโทษข้อที่ ๓ เพราะกำจัดเสียได้ซึ่ง
หนาวและร้อน ก็จะทำให้ร่างกายบอบบาง (ไม่แข็งแรง) เป็นโทษข้อที่ ๔
คนเข้าไปสู่เรือนอาจทำความชั่วอย่างใดอย่างหนึ่งได้ เพราะฉะนั้น การที่ปก
ปิดสิ่งน่าติเตียน เป็นโทษข้อที่ ๕ การหวงแหนด้วยคิดว่าเป็นของเรา เป็น
โทษข้อที่ ๖ ธรรมดาการมีเรือนแสดงว่าต้องมีภรรยา เป็นโทษข้อที่ ๗ เป็น
ของทั่วไปแก่คนอาทิผิด อักขระหมู่มาก เพราะเป็นสาธารณะแก่สัตว์มีเล็น เรือด และตุ๊กแก
เป็นต้น เป็นโทษข้อที่ ๘. บทว่า อิเม ความว่า พระมหาสัตว์เห็นโทษ
๘ ประการเหล่านี้ แล้วจึงเลิกละบรรณศาลา. เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า
เราเลิกละบรรณศาลาที่เกลื่อนกล่นด้วยโทษ ๘ ประการ.
บทว่า อุปาคมึ รุกฺขมูลํ คุเณ ทสหุปาคตํ ความว่า พระมหา-
สัตว์กล่าวว่า เราห้ามที่มุงบัง เข้าหาโคนต้นไม้ที่ประกอบด้วยคุณ ๑๐ ประการ
ในข้อนั้น คุณ ๑๐ ประการมีดังต่อไปนี้ มีความยุ่งยากน้อยเป็นคุณข้อที่ ๑ เพราะ
เพียงแต่เข้าไปเท่านั้นก็อยู่ที่นั่นได้ เพราะฉะนั้นจึงไม่ต้องดูแลรักษา เป็นคุณ
ข้อที่ ๒ ก็ที่นั้น จะปัดอาทิผิด อักขระกวาดก็ตาม ไม่ปัดกวาดก็ตาม ก็ใช้สอยได้อย่างสบาย
เหมือนกัน การที่ไม่ต้องบากบั่นนัก เป็นคุณข้อที่ ๓ ที่นั้น ปกปิดความนินทา
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: