Sima
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/406/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สีมานั้นใดอันสงฆ์สมมติ
ไว้แล้ว ให้มีสังวาสเสมอกัน ให้มีอุโบสถเดียวกัน สงฆ์ถอนอยู่ บัด
นี้ซึ่งสีมานั้น การถอนสีมาอาทิผิด สระมีสังวาสเสมอกัน มีอุโบสถเดียวกันนี้
ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่าน
ผู้นั้นพึงพูด.
สีมามีสังวาสเสมอกัน มีอุโบสถเดียวกันนั้น อันสงฆ์ถอน
แล้ว ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.
อพัทธสีมา
[๑๖๔] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อสงฆ์ยังไม่ได้สมมติ ยังไม่ได้กำหนด
สีมา ภิกขุเข้าอาศัยบ้านหรือนิคมใดอยู่ เขตของบ้านนั้น เป็นคามสีมาบ้าง เขต
ของนิคมนั้น เป็นนิคมสีมาบ้าง สีมานี้มีสังวาสเสมอกัน มีอุโบสถเดียวกัน
ในบ้านหรือนิคมนั้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าในป่าหาคนตั้งบ้านเรือนเมื่อได้ ชั่ว ๗ อัพภันดร
โดยรอบ เป็นสัตตัพภันตรสีมา สีมานี้มีสังวาสเสมอกัน มีอุโบสถเดียวกันใน
ป่านั้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม่น้ำทั้งหมด สมมติเป็นสีมาไม่ได้ สมุทรทั้ง
หมด สมมติเป็นสีมาไม่ได้ ชาตสระทั้งหมด สมมติเป็นสีมาอาทิผิด อักขระไม่ได้.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในแม่น้ำ ในสมุทร หรือในชาตสระ ชั่ววัก
น้ำสาด โดยรอบแห่งบุรุษผู้มีกำลังปานกลาง เป็นอุทกุกเขปสีมา สีมานี้มีสังวาส
เสมอกัน มีอุโบสถเดียวกัน ในน่านน้ำนั้น.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论