星期四, 九月 01, 2022

Phute

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 42/119/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
การอาทิผิด เรียกบุตรของเราแม้ว่า ‘ สมณะ ’ ก็ควร. เรียกว่า ‘ พราหมณ์ ’
ก็ควรเหมือนกัน ” ดังนี้ เมื่อจะทรงสืบอนุสนธิแสดงธรรม จึงตรัส
พระคาถานี้ว่า
๙. อลงฺกโต เจปิ สมํ จเรยฺย
สนฺโต ทนฺโต นิยโต พฺรหฺมจารี
สพฺเพสุ ภูเตสุอาทิผิด สระ นิธาย ทณฺฑํ
โส พฺราหฺมโณ โส สมโณ ส ภิกฺขุ.
“ แม้ถ้าบุคคลประดับแล้ว พึงประพฤติสม่ำเสมอ
เป็นผู้สงบ ฝึกแล้ว เที่ยงธรรม มีปกติประพฤติ
ประเสริฐ วางเสียซึ่งอาชญาในสัตว์ทุกจำพวก,
บุคคลนั้น เป็นพราหมณ์ เป็นสมณะ เป็นภิกษุ. ”
แก้อรรถ
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อลงฺกโต ได้แก่ ประดับด้วยผ้าและ
อาภรณ์. บัณฑิตพึงทราบความแห่งพระคาถานั้นว่า “ แม้หากว่าบุคคล
ประดับด้วยเครื่องอลังการมีผ้าเป็นต้น พึงประพฤติสม่ำเสมอ ด้วยกาย
เป็นต้น. ชื่อว่าเป็นผู้สงบ เพราะความสงบระงับแห่งราคะเป็นต้น, ชื่อว่า
เป็นผู้ฝึก เพราะฝึกอินทรีย์, ชื่อว่าเป็นผู้เที่ยง เพราะเที่ยงในมรรคทั้ง ๔.
ชื่อว่าพรหมจารี เพราะประพฤติประเสริฐ, ชื่อว่าวางอาชญาในสัตว์ทุก
จำพวก เพราะความเป็นผู้วางเสียซึ่งอาชญาทางกายเป็นต้นแล้ว. ผู้นั้น
คือผู้เห็นปานนั้น อันบุคคลควรเรียกว่า ‘ พราหมณ์ ’ เพราะความเป็นผู้
มีบาปอันลอยแล้ว ก็ได้, ว่า ‘ สมณะ ’ เพราะความเป็นผู้มีบาปอันสงบ
๑. อรรถกถาเป็น สมญฺจเรยฺยย.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: