Khong
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 59/958/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า สุหทยํ มมํ ความว่า และทรงทราบราชเสวกคนใด
ว่า ราชเสวกผู้นี้มีความจงรักภักดีต่อเรา. บทว่า ราชูสุ เว ความว่า
เมื่อเป็นเช่นนั้น บัณฑิตทั้งหลายย่อมกล่าวคุณความดีของอาทิผิด อาณัติกะราชเสวกนั้น ๆ
ที่มีอยู่ในพระราชาทั้งหลาย ว่าเป็นความสวัสดิมงคลโดยแท้ บทว่า
ททาติ สทฺโธ คือเชื่อกรรมและผลแห่งกรรมแล้วให้. บทว่า สคฺเคสุ
เว ความว่า เมื่อเป็นเช่นนั้น บัณฑิตทั้งหลายย่อมกล่าวคุณข้อนั้น
ของผู้นั้นว่า เป็นสวัสดิมงคล คือเป็นมงคลที่ปราศจากโทษในสวรรค์
คือในเทวโลก บัณฑิตพึงกล่าวอ้างข้อนั้นด้วยเรื่องเปรตและเรื่องวิมาน
เปรตให้พิสดาร. บทว่า ปุนนฺติ วทฺธา ความว่า สัตบุรุษทั้งหลาย
ผู้รู้แจ้งด้วยญาณ ยังบุคคลใดให้บริสุทธิ์ คือให้หมดจดด้วยอริยธรรม
บทว่า สมจริยาย ได้แก่ ในสัมมาปฏิบัติ บทว่า พหุสฺสุตา
ได้แก่ ผู้สดับมากเพื่อปฏิเวธ. บทว่า อิสโย ได้แก่ ผู้แสวงหาคุณ.
บทว่า สีลวนฺโต ได้แก่ ผู้ประกอบด้วยอริยศีล. บทว่า อรหนฺตมชฺเฌ
ความว่า บัณฑิตทั้งหลายย่อมยกย่องความดีของสัตบุรุษนั้นว่า เป็น
สวัสดิมงคล อันจะพึงได้ในท่ามกลางพระอรหันต์ จริงอยู่พระอรหันต์
ทั้งหลาย เมื่อบอกมรรคที่ตนได้แล้วให้ผู้อื่นปฏิบัติ ย่อมยังบุคคลผู้ยินดี
ให้บริสุทธิ์ด้วยอริยธรรม แม้ผู้นั้นก็เป็นพระอรหันต์เทียว.
พระมหาสัตว์ถือเอายอดแห่งเทศนาด้วยพระอรหัต แสดงมงคล
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论