Samanavassa
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/634/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ภิกษุมีพรรษาเท่ากัน ปวารณาพร้อมกันเท่านั้นไม่ควร. อนึ่ง เมื่อสวดประกาศ
ว่า เตวาจกํ ปวาเรยฺย แปลว่า สงฆ์พึงปวารณา ๓ ครั้ง ดังนี้ ต้องปวารณา
๓ ครั้งเท่านั้นจึงควร จะปวารณาอย่างอื่น หาควรไม่. เมื่อสวดประกาศว่า
เทฺววาจกํ ปวาเรยฺย แปลว่า สงฆ์พึงปวารณา ๒ ครั้ง ดังนี้จะปวารณา
๒ ครั้งหรือ ๓ ครั้งก็ควร แต่จะปวารณาเพียงครั้งเดียว และปวารณา
มีพรรษาเท่ากันหาควรไม่. ก็เมื่อสวดประกาศว่า เอกวาจิกํ ปวาเชยฺย แปล
ว่า สงฆ์พึงปวารณาครั้งเดียว ดังนี้ จะปวารณาครั้งเดียว ๒ ครั้ง หรือ ๓ ครั้ง
ก็ควร แต่จะปวารณามีพรรษาเท่ากันเท่านั้นหาควรไม่. เมื่อสวดประกาศว่า
สมานวสฺสิกํอาทิผิด สระ ปวาเรยฺย แปลว่า พึงปวารณามีพรรษาเท่ากัน ดังนี้ ย่อม
ควรทุกวิธี.
บทว่า อจฺฉนฺติ คือ เป็นผู้นั่งอยู่นั่นเอง หาลุกขึ้นไม่.
บทว่า ตทนนฺตรา คือตลอดกาลระหว่างปวารณานั้น
อธิบายว่า ตลอดกาลเท่าที่ตนจะปวารณานั้น.
วินิจฉัยในข้อว่า จาตุทฺทสิกา จ ปณฺณรสิกา จ นี้ พึงทราบ
ในดิถีที่ ๑๔ พึงทำบุรพกิจอย่างนี้ว่า อชฺช ปวารณา จาตุทฺทสี
แปลว่า ปวารณาวันนี้ ๑๔ ค่ำ ในดิถีที่ ๑๕ พึงทำบุรพกิจอย่างนี้ว่า อชฺช
ปวารณา ปณฺณรสี แปลว่า ปวารณาวันนี้ ๑๕ ค่ำ.
ปวารณากรรม
วินิจฉัยในปวารณากรรม พึงทราบดังนี้:-
ถ้าว่า เมื่อภิกษุ ๕ รูปอยู่ในวัดเดียวกัน ๔ รูปนำปวารณาของรูปหนึ่ง
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论