turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/400/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สมุทยสัจ เป็นสรณะ สัจจะ ๒ เป็นอรณะ ทุกขสัจ เป็นสรณะก็มี เป็นอรณะ
ก็มี ฉะนี้แล.
ปัญหาปุจฉกะ จบ
สัจจวิภังค์ จบบริบูรณ์
วรรณนาปัญหาปุจฉกะ
พึงทราบวินิจฉัยในปัญหาปุจฉกะ ต่อไป
บัณฑิตพึงทราบความที่สัจจะแม้ทั้ง ๔ เป็นกุศลเป็นต้น โดยทำนอง
แห่งนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ในขันธวิภังค์นั่นแล แต่ในอารัมมณติกะทั้งหลาย
สมุทยสัจจะ เป็นปริตตารัมมณะแก่ผู้ยินดีอยู่ในกามาวจรธรรม เป็นมหัคคตา-
รัมมณะแก่ผู้ยินดีอยู่ในมหัคคตธรรม เป็นนวัตตัพพารัมมณะแก่ผู้ยินดีอยู่ใน
บัญญัติธรรม. ทุกขสัจจะ เป็นปริตตารัมมณะซึ่งปรารภกามาวจรธรรมเกิดขึ้น
เป็นมหัคคตารัมมณะในกาลปรารภรูปาวจรธรรมและอรูปาวจรธรรมเกิดขึ้น
เป็นอัปปมาณารัมมณะเกิดในเวลาพิจารณาโลกุตรธรรม ๙ เป็นนวัตตัพพารัม-
ณะในเวลาพิจารณาบัญญัติ. มรรคสัจจะ เป็นมัคคเหตุกะ (มีมรรคเป็นเหตุอาทิผิด สระ)
แม้ในการทั้งปวง ด้วยสามารถเป็นสหชาตเหตุ เป็นมัคคาธิปติในเวลาเจริญ-
มรรคกระทำวิริยะอาทิผิด สระหรือวิมังสาให้เป็นใหญ่ ชื่อว่าเป็นนวัตตัพพธรรมในเวลาที่
ฉันทะและจิตอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นอธิบดี. ทุกขสัจจะ เป็นบรรดารัมมณะใน
เวลาพิจารณามรรคของพระอริยะ เป็นมัคคาธิบดีในเวลาพิจารณามรรคของ
พระอริยเจ้าเหล่านั้นนั่นเทียว กระทำให้หนักเป็นนวัตตัพพธรรมในเวลาพิจาร-
ณาธรรมที่เหลือ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 1/336/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ข้อนั้นจะไม่พึงเหมาะแก่เรา จะพึงเป็นเหมือนการแข่งดี ที่เราทำกับพระผู้มี-
พระภาคเจ้า : เพราะฉะนั้น พระเถระมีความประสงค์จะทูลขอ จึงมากราบทูล
กล่าวคำนั้นกะอาทิผิด อักขระพระผู้มีพระภาคเจ้า.
[ภายใต้แผ่นดิน มีง้วนดินที่มีรสโอชา]
สองบทว่า เหฏฺิมตถํ สมฺปนฺนํ ความว่า ได้ยินว่า พระเถระ
กล่าวหมายเอาฟองดิน โอชาดิน ง้วนดิน ซึ่งมีอยู่ในพื้นเบื้องล่างแห่งแผ่นดิน.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สมฺปนฺนํ แปลว่า มีรสหวาน อธิบายว่า
มีรสดี, เหมือนอย่างในประโยคนี้ว่า ต้นไม้มีผลสมบูรณ์ และมีผลเกิดแล้ว
พึงมีในสถานที่นั้น ดังนี้ พึงทราบความหมายว่า มีผลอร่อยฉันใดแล แม้
ในอธิการนี้ ก็ฉันนั้น บัณฑิตพึงทราบความหมายแห่งบทว่า สมฺปนฺนํ นี้ว่า
มีรสหวาน คือรสดี.
ส่วนคำว่า เสยฺยถาปิ ขุทฺทกมธุ อนีลกํ นี้ พระเถระกล่าวแล้ว
ก็เพื่อแสดงข้ออุปมา เพราะพื้นเบื้องล่างแห่งแผ่นดินนั้น เป็นธรรมชาติมีรส
หวาน.
น้ำหวาน ที่ตัวแมลงผึ้งเล็ก ๆ ทำไว้แล้ว ชื่อว่า ขุทฺทกมธุ
(น้ำผึ้งหวี่).
บทว่า อนีลกํ แปลว่า ไม่มีตัว คือไม่มีตัวอ่อน ได้แก่น้ำผึ้งที่บริสุทธิ์.
ได้ยินว่า น้ำผึ้งนั่นเป็นของเลิศ ประเสริฐ มีรสดี และมีโอชากว่าน้ำหวาน
ทั้งหมด เพราะเหตุนั้น พระเถระจึงได้กล่าวว่า เสยฺยถาปิ ขุทฺทกมธุ
อนีลกํ เอวมสฺสาทํ แปลว่า (เป็นที่ชอบใจ เหมือนน้ำผึ้งหวี่ ที่ไม่มีตัว
ฉะนั้น) ดังนี้เป็นต้น.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 28/33/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๖. อาทิตตปริยายสูตร
ว่าด้วยสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน
[ ๓๑ ] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ตำบลคยาสีสะ ริมฝั่ง
แม่น้ำคยา พร้อมกับภิกษุ ๑,๐๐๐ รูป ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้า
ได้ตรัสกะพระภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน คืออะไร. คือ จักษุ รูป
จักษุวิญญาณ จักษุสัมผัส เป็นของร้อน. แม้สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรือ
อทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย ก็เป็นของร้อน
ร้อนเพราะอะไร เรากล่าวว่า ร้อนเพราะไฟ คือ ราคะ โทสะ โมหะ
ร้อนเพราะชาติ ชรา มรณะอาทิผิด อักขระ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และ
อุปายาสอาทิผิด อักขระ ฯลฯ ใจ ธรรมารมณ์ มโนวิญญาณ มโนสัมผัส. เป็นของร้อน
แม้สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้นเพราะมโน-
สัมผัสเป็นปัจจัย ก็เป็นของร้อน ร้อนเพราะอะไร เรากล่าวว่า ร้อน
เพราะไฟ คือ ราคะ โทสะ โมหะ ร้อนเพราะชาติ ชรา มรณะ โสกะ
ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาส ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้
สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่ายทั้งอาทิผิด ในจักษุ ทั้งในรูป ทั้งในจักษุ
วิญญาณ ทั้งในจักษุสัมผัส ทั้งในสุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุข-
เวทนา ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในใจ
ทั้งในธรรมารมณ์ ทั้งในมโนวิญญาณ ทั้งในมโนสัมผัส ทั้งในสุขเวทนา
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 45/677/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อิธ ความว่า ในโลกนี้. อธิบายว่า
มนุษย์ผู้เป็นบัณฑิตทั้งหลาย จะสรรเสริญ คือ ยกย่อง ได้แก่ ชมเชย บุคคล
ผู้อุปฐากอาทิผิด อักขระมารดาบิดา ด้วยการบำรุงบำเรอท่าน และเอาเขาเป็นทิฏฐานุคติ
(เป็นเยี่ยงอย่าง) แม้ตนเอง ก็ปฏิบัติในมารดาบิดาของตนอย่างนั้นแล้ว ย่อม
ประสบบุญมากมาย. บทว่า เปจฺจ ความว่า ผู้บำรุงมารดาบิดาไปสู่ปรโลก
แล้ว สถิตอยู่ในสวรรค์ ย่อมจะรื่นเริงบันเทิงอาทิผิด สระเพลิดเพลินใจ ด้วยทิพยสมบัติ
ทั้งหลาย.
จบอรรถกถาพรหมสูตรที่ ๗
๘. พหุการสูตร
ว่าด้วยผู้มีอุปการะมาก
[๒๘๗] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลายเป็นผู้มี
อุปการะมากแก่เธอทั้งหลาย บำรุงเธอทั้งหลายด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ
และคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร แม้เธอทั้งลายก็จงเป็นผู้มีอุปการะมากแก่พราหมณ์
และคฤหบดีทั้งหลาย จงแสดงธรรมอันงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง
งามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะ
บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิงแก่พราหมณ์และคฤหบดีเหล่านั้นเถิด ดูก่อนภิกษุ-
ทั้งหลาย คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้งหลาย ต่างอาศัยซึ่งกันและกันด้วยอำนาจ
อามิสทานและธรรมทาน อยู่ประพฤติพรหมจรรย์นี้ เพื่อต้องการสลัดโอฆะ
เพื่อจะทำซึ่งที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบด้วยประการอย่างนี้.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 27/435/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เลย ดูก่อนราธะ ส่วนสมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง ย่อมรู้ชัด
เหตุเกิด ความดับ คุณ โทษ และอุบายเป็นเครื่องสลัดออกแห่ง
อุปาทานขันธ์ ๕ ประการนี้ ตามความเป็นจริง สมณะหรือพราหมณ์
เหล่านั้น ย่อมได้รับยกย่องว่าเป็นสมณะในหมู่สมณะ และได้รับยกย่อง
ว่าเป็นพราหมณ์ในหมู่พราหมณ์ อนึ่ง ท่านเหล่านั้นย่อมทำให้แจ้งซึ่ง
ประโยชน์แห่งความเป็นสมณะ (อรหัตตผล) และประโยชน์แห่งความ
เป็นพราหมณ์ (อรหัตตผลอาทิผิด อักขระ) ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ได้ด้วย.
จบ ทุติยสมณพราหมณสูตร
๗. โสตาปันนสูตร
ว่าด้วยเหตุให้สำเร็จเป็นพระโสดาบัน
[๓๗๓] กรุงสาวัตถี. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสกะท่าน
พระราธะว่า ดูก่อนราธะ อุปาทานขันธ์ ๕ ประการนี้ ๕ ประการ
เป็นไฉน ?
ได้แก่ อุปาทานขันธ์ คือ รูป ฯลฯ อุปาทานขันธ์ คือ วิญญาณ
ดูก่อนราธะ ในกาลใดแล อริยสาวกย่อมรู้ชัดเหตุเกิด ความดับ คุณ
โทษ และอุบายเป็นเครื่องสลัดออกแห่งอุปาทานขันธ์ ๕ ประการนี้
ตามความเป็นจริง เมื่อนั้น อริยสาวกนี้ เราตถาคตกล่าวว่า เป็นโสดาบัน
ผู้มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า.
จบ โสตาปันนสูตร
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 16/153/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
จิตตะ ดังนี้ ย่อมเที่ยวไป ณ ที่นั้น. บทว่า ไก่ คือ ไก่ป่า. บทว่า ปู
คือ ปูทอง. บทว่า ในป่า คือ ในสระประทุม. บทว่า โปกฺขรสาตกา
ได้แก่ พวกนกชื่อ โปกฺขรสาตกา. บทว่า สุกสาลิกสทฺเทตฺถ ความว่า
ในสระนั้น มีเสียงนกสุกะ และนกสาลิกา. บทว่า หมู่นกทัณฑมาณวก
คือนกมีหน้าเหมือนคน. ได้ยินว่า นกเหล่านั้น เอาเท้าทั้งสองจับไม้อาทิผิด อาณัติกะทองคำ
แล้วเหยียบใบบัวใบหนึ่ง วางไม้ทองคำลงอาทิผิด สระในบัวอันไม่มีระหว่าง เที่ยวไป.
บทว่า สพฺพกาลํ สา ความว่า สระโบกขรณีนั้นงามตลอดกาล. บทว่า
สระนพินีของท้าวกุเวร ความว่า สระนพินีของท้าวกุเวรเป็นสระปทุม
สระนั้นชื่อ ธรณี งามอยู่ตลอดเวลาทุกเมื่อ.
ท้าวเวสวัณ ยังอาฏานาฏิยรักษ์ให้สำเร็จลงแล้ว เมื่อจะแสดงการ
บริกรรม พระปริตนั้นจึงกล่าวบทนี้ว่า คนใดคนหนึ่ง. ในบทเหล่านั้น
บทว่า เรียนดีแล้ว ความว่า อาฏานาฏิยรักษ์ อันผู้ใดผู้หนึ่ง ชำระอรรถ
และพยัญชนะ และเรียนด้วยดี. บทว่า เล่าเรียนครบถ้วน ความว่า ไม่
ให้บทและพยัญชนะ เสื่อมแล้วเล่าเรียนครบถ้วน. ท่านแสดงไว้ว่า จริงอยู่
พระปริต ย่อมไม่เป็นเดช แก่ผู้กล่าวผิด อรรถบ้าง บาลีบ้าง หรือว่าไม่ทำ
ให้คล่องแคล่ว. พระปริตย่อม เป็นเดชแก่ผู้ทำให้คล่องแคล่ว ด้วยประการ
ทั้งปวง แล้วกล่าวแน่แท้. แม้เมื่อเรียนเพราะลาภเป็นเหตุ แล้วกล่าวอยู่
ก็ไม่สำเร็จประโยชน์. พระปริตย่อมมีประโยชน์แก่ผู้ตั้งอยู่ในฝ่ายแห่ง
การออกไปจากทุกข์ แล้วกระทำเมตตาให้เป็น ปุเรจาริก กล่าวอยู่นั่นแล.
บทว่า ยักขปจาระ คือผู้รับใช้ยักษ์. บทว่า วัตถุ ได้แก่ วัตถุคือ เรือน.
บทว่า ที่อยู่ได้แก่การอยู่เป็นนิจในเรือนนั้น. บทว่า สมิตึ คือ การสมาคม.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 7/25/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ถูกต้ององค์กำเนิดบ้าง กดลูกโคให้จมน้ำตายบ้าง เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้บริโภค
กาม ฉะนั้น ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านเหล่านั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพน-
ทะนาอยู่ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงจับเขาโค หูโค คอโค หางโค ไม่พึงขี่หลังโค รูปใด
จับแลขึ้นขี่ ต้องอาบัติทุกกฏ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง องค์กำเนิดโค อันภิกษุมีจิตกำหนัด ไม่
พึงถูกต้อง รูปใดถูกต้อง ต้องอาบัติถุลลัจจัย ภิกษุไม่พึงฆ่าลูกโค รูปใดฆ่า
พึงปรับอาบัติตามธรรม.
เรื่องยาน
[๑๔] ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์อาทิผิด สระขี่ยานซึ่งเทียมด้วยโคตัวเมีย
มีบุรุษเป็นสารถีบ้าง เทียมด้วยโคตัวผู้ มีสตรีเป็นสารถีบ้าง ประชาชนจึง
เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เหมือนชายหนุ่มหญิงสาวไปเล่นน้ำในแม่น้ำอาทิผิด สระ
คงคาและแม่น้ำมหี ฉะนั้น ภิกษุทั้งหลาย กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระ
ภาคเจ้า ๆ ทรงบัญญัติห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึง-
ไปด้วยยาน รูปใดไปต้องอาบัติทุกกฏ.
สมัยต่อมา ภิกษุรูปหนึ่งไปพระนครสาวัตถีในโกศลชนบทเพื่อเฝ้า
พระผู้มีพระภาคเจ้า แต่อาพาธเสียกลางทาง และได้หลีกจากทางนั่งอยู่ ณ
โคนไม้แห่งหนึ่งประชาชนพบภิกษุนั้น จึงเรียนถามว่า พระคุณเจ้าจะไปไหน
ขอรับ ?
ภิกษุนั้นตอบว่า อาตมาจะไปพระนครสาวัตถีอาทิผิด สระ เพื่อเฝ้าพระผู้มีพระภาค
เจ้า.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 37/721/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๕. พลสูตร
ว่าด้วยกำลัง ๔ กับภัย ๕
[๒๐๙] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กำลัง ๔ ประการนี้ ๔ ประการ
เป็นไฉน คือ กำลัง คือ ปัญญา ๑ กำลัง คือ ความเพียร ๑ กำลัง
คือ การงานอาทิผิด อักขระอันไม่มีโทษ ๑ กำลัง คือ การสงเคราะห์ ๑.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็กำลัง คือ ปัญญาเป็นไฉน ธรรม
เหล่าใดเป็นกุศล นับว่าเป็นกุศล ธรรมเหล่าใดเป็นอกุศล นับว่าเป็น
อกุศล ธรรมเหล่าใดมีโทษ นับว่ามีโทษ ธรรมเหล่าใดไม่มีโทษ
นับว่าไม่มีโทษ ธรรมเหล่าใดดำ นับว่าดำ ธรรมเหล่าใดขาว
นับว่าขาว ธรรมเหล่าใดไม่ควรเสพ นับว่าไม่ควรเสพ ธรรม
เหล่าใดควรเสพ นับว่าควรเสพ ธรรมเหล่าใดไม่สามารถทำความ
เป็นพระอริยะ นับว่าไม่สามารถทำความเป็นอริยะ ธรรมเหล่าใด
สามารถทำความเป็นพระอริยะ นับว่าสามารถทำความเป็นพระอริยะ
ธรรมเหล่านั้นเป็นธรรมอันบุคคลเห็นแจ้ง ประพฤติได้ด้วยปัญญา
นี้เรียกว่ากำลัง คือ ปัญญา.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็กำลัง คือ ความเพียรเป็นไฉน ธรรม
เหล่าใดเป็นอกุศล นับว่าเป็นอกุศล ธรรมเหล่าใดมีโทษ นับว่ามีโทษ
ธรรมเหล่าใดดำ นับว่าดำ ธรรมเหล่าใดไม่ควรเสพ นับว่าไม่ควรเสพ
ธรรมเหล่าใดไม่สามารถทำความเป็นพระอริยะ นับว่าไม่สามารถ
ทำความเป็นพระอริยะ บุคคลยังฉันทะให้เกิด พยายามปรารภ
ความเพียร ประคองจิต ตั้งจิตไว้ เพื่อละธรรมเหล่านั้น ธรรมเหล่าใด
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 1/399/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เรื่องภิกษุวัชชีบุตร
[๒๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุวัชชีบุตรชาวพระนครเวสาลีหลายรูป
ฉันอาหารพอแก่ความต้องการ จำวัดพอแก่ความต้องการ สรงน้ำพอแก่ความ
ต้องการ ครั้นแล้วทำในใจโดยไม่แยบคายไม่บอกคืนสิกขา ไม่ทำความเป็นผู้
ทุรพลให้แจ้ง ได้เสพเมถุนธรรม สมัยอื่น วัชชีบุตรพวกนั้น ถูกความพินาศ
แห่งญาติกระทบแล้วบ้าง ถูกความวอดวายแห่งโภคะกระทบแล้วบ้าง ถูกความ
เสื่อมคือโรคเบียดเบียนแล้วบ้าง จึงเข้าไปหาท่านพระอานนท์ แล้วกล่าว
อย่างนี้ว่า ท่านพระอานนท์เจ้าข้า พวกกระผมไม่ใช่เป็นคนติเตียนพระพุทธเจ้า
ไม่ใช่เป็นคนติเตียนพระธรรม ไม่ใช่เป็นคนติเตียนพระสงฆ์ พวกกระผมเป็น
คนติเตียนตน ไม่ใช่เป็นคนติเตียนคนอื่น พวกกระผมซึ่งบวชในพระธรรมวินัย
ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีอย่างนี้แล้ว ไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์ให้
บริบูรณ์ บริสุทธิ์ได้ตลอดชีวิตนั้นแหละ เป็นคนไม่มีวาสนา เป็นคนมี
บุญน้อย ท่านอานนท์เจ้าข้า แม้บัดนี้ ถ้าพวกกระผมพึงได้บรรพชา
พึงได้อุปสมบท ในสำนักพระผู้มีพระภาคเจ้า แม้บัดนี้ พวกกระผมจะพึงเป็น
ผู้เห็นแจ้งซึ่งกุศลธรรม หมั่นประกอบความเพียรในการเจริญโพธิปักขิยธรรม
อยู่ตลอดเบื้องต้นแห่งราตรีและเบื้องปลายแห่งราตรี ท่านพระอานนท์เจ้าข้า
พวกกระผมขอโอกาส ขอท่านได้โปรดกรุณากราบทูลความข้อนี้ แด่พระผู้มี
พระภาคเจ้า.
ได้ จ้ะ ท่านพระอานนท์?รับคำของพวกวัชชีบุตรชาวพระนครเวสาลี
แล้วเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า กราบทูลเรื่องนั้นให้ทรงทราบ.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนอานนท์ การที่ตถาคตจะพึงถอน
ปาราชิกสิกขาอาทิผิด สระบทที่บัญญัติแล้วแก่สาวกทั้งหลาย เพราะเหตุแห่งพวกวัชชีหรือ
พวกวัชชีบุตรนั้น ไม่ใช่ฐานะ ไม่ใช่โอกาส.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 37/412/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ท้องแดง และสังข์สำหรับเป่าเป็นต้น. บทว่า สิลา ความว่า สิลา
มีหลายอย่างต่างโดยสีมีสีขาว สีดำ และสีดังเมล็ดถั่วเขียวเป็นต้น.
บทว่า ปวาฬํ ความว่า แก้วประพาฬมีหลายอย่างต่างโดยชนิดเล็ก
ใหญ่ แดง และแดงทึบเป็นต้น. บทว่า มสารคลฺลํ ได้แก่ แก้วลาย.
บทว่า นาคา ได้แก่ นาคที่อยู่บนหลังคลื่นก็มี นาคที่อยู่วิมานก็มี.
บทว่า อฏฺ ปหาราท ความว่า พระศาสดาทรงสามารถตรัสธรรม
๘ ประการบ้าง ๑๖ ประการบ้าง ๓๒ ประการบ้าง ๖๔ ประการ
บ้าง ๑๐๐ บ้าง ๑,๐๐๐ บ้าง แต่ทรงพระดำริว่า ปหาราทะกล่าว
๘ ประการ แม้เราก็จักกล่าวให้เห็นสมกับธรรม ๘ ปหาราทะ
กล่าวนั้นนั่นแหละ จึงได้ตรัสอย่างนั้น.
พึงทราบวินิจฉัยในคำว่า อนุปุพฺพสิกฺขา เป็นต้นต่อไปนี้.
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงถือเอาสิกขา ๓ ด้วยอนุปุพพอาทิผิด สิกขา
ทรงถือเอาธุดงค์ ๑๓ ด้วยอนุปุพพกิริยา. ทรงถือเอาอนุปัสสนา ๗
มหาวิปัสสนา ๑๘ การจำแนกอารมณ์ ๓๘ โพธปักขิยธรรม ๓๗
ด้วยปทา. บทว่า อายตเกเนว อญฺปฏิเวโธ ความว่า ชื่อว่า
ภิกษุผู้ไม่กระทำให้บริบูรณ์ในศีลเป็นต้น ตั้งแต่ต้นแล้วบรรลุ
พระอรหัต เหมือนอย่างกบกระโดดไปไม่มี เพราะเหตุนั้น จึงอธิบายว่า
ก็ภิกษุบำเพ็ญศีล สมาธิ และปัญญา ตามลำดับเท่านั้น จึงอาจบรรลุ
พระอรหัตได้.
บทว่า อารกาว แปลว่า ในที่ไกลนั่นแล. บทว่า น เตน
นิพฺพานธาตุยา อูนตฺตํ วา ปูรตฺตํ วา ความว่า เมื่ออาทิผิด อักขระพระพุทธเจ้า
ทั้งหลายไม่เสด็จอุบัติขึ้น แม้ตลอดอสงไขยกัป แม้สัตว์ตนหนึ่ง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 7/81/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เก็บไว้ฉัน ได้ ๗ วันเป็นอย่างยิ่ง ภิกษุให้ล่วงกำหนดนั้นไป พึงปรับอาบัติตาม
ธรรม.
ภาณวารว่าด้วยทรงอนุญาตเภสัช ที่ ๑ จบ
พระพุทธานุญาตงบน้ำอ้อย
[๔๘] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ในพระนครสาวัตถีตาม
พระพุทธาภิรมย์อาทิผิด อักขระแล้วเสด็จพุทธดำเนินไปทางพระนครราชคฤห์ท่านพระกังขา
เรวตะได้แวะเข้าโรงทำงบน้ำอ้อย ในระหว่างทาง เห็นเขาผสมแป้งบ้าง เถ้าบ้าง
ลงในงบน้ำอ้อย จึงรังเกียจว่า งบน้ำอ้อยเจืออามิส เป็นอกัปปิยะ ไม่ควรจะ
ฉันในเวลาวิกาล ดังนี้ จึงพร้อมด้วยบริษัทไม่ฉันงบน้ำอ้อย แม้พวกภิกษุที่
เชื่อฟังคำท่านก็พลอยไม่ฉันงบน้ำอ้อยไปด้วย ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้น
แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
คนทั้งหลายผสมแป้งบ้าง เถ้าบ้าง ลงในงบน้ำอ้อย เพื่อประสงค์อะไร ?
ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า เพื่อประสงค์ให้เกาะกันแน่น พระพุทธเจ้าข้า
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้ง
หลาย ถ้าคนทั้งหลายผสมแป้งบ้าง เถ้าบ้าง ลงในงบน้ำอ้อย เพื่อประสงค์ให้
เกาะกันแน่นงบน้ำอ้อยนั้นก็ยังถึงความนับว่า งบน้ำอ้อยนั้นแหละ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ฉันงบน้ำอ้อยตามสบาย.
พระพุทธานุญาตถั่วเขียว
ท่านพระกังขาเรวตะ ได้เห็นถั่วเขียวงอกขึ้นในกองอุจจาระ ณ ระหว่าง
ทาง แล้วรังเกียจว่า ถั่วเขียวเป็นอกัปปิยะ แม้ต้มแล้วก็ยังงอกได้ จึงพร้อม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 24/436/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[๓๔๘] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึง
ได้ตรัสพระคาถานี้ในเวลานั้นว่า
บุคคลค้นหาด้วยจิตตลอดทุกทิศ
ไม่ได้พบใครซึ่งเป็นที่รัก ยิ่งกว่าตนในที่
ไหน ๆ เลย สัตว์ทั้งหลายเหล่าอื่นก็รัก
ตนอาทิผิด อักขระมากเช่นนั้นเหมือนกัน เพราะฉะนั้น
ผู้รักตนจึงไม่ควรเบียดเบียนผู้อื่น.
อรรถอาทิผิด สระกถามัลลิกาสูตร
พึงทราบวินิจฉัยในมัลลิกาสูตรที่ ๘ ต่อไป :-
เพราะเหตุไร พระเจ้าปเสนทิโกศลจึงตรัสถามว่า อตฺถิ โข เต
มลฺลิเก เป็นต้น. ได้ยินว่า พระนางมัลลิกานี้ เป็นธิดาของนายช่างทำดอกไม้
ผู้เข็ญใจ วันหนึ่ง ถือขนมจากตลาด คิดว่าจักไปสวนดอกไม้แล้วจึงจักกินขนม
เดินไปพบพระผู้มีพระภาคเจ้า มีภิกษุเป็นบริวาร เสด็จเข้าไปแสวงหาอาหาร
สวนทางกัน ก็มีจิตเลื่อมใส ได้ถวายขนมนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระผู้มี-
พระภาคเจ้าทรงแสดงอาการจะประทับนั่ง. พระอานนทเถระจึงได้ปูผ้าถวาย.
พระผู้มีพระภาคเจ้า ประทับนั่ง ณ ที่นั้นแล้วเสวยขนม ล้างพระโอษฐ์แล้ว
ได้ทรงทำความแย้มพระโอษฐ์ให้ปรากฏ. พระเถระทูลถามว่า ด้วยการถวาย
ขนมนี้ จักมีผลอะไร พระเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อานนท์ วันนี้
นี่แหละ นางมัลลิกานั้นได้ถวายโภชนะแก่ตถาคตเป็นคนแรก วันนี้นี่แหละ
นางก็จักได้เป็นอัครมเหสีของพระเจ้าโกศล วันนั้นนั่นแล พระราชาผู้อัน
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 33/263/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ลักษณะ. สัมมาวาจา มีความกำหนดถือเอาชอบเป็นลักษณะ. สัมมา-อาทิผิด สระ
กัมมันตะ มีการตั้งขึ้นซึ่งการงานโดยชอบเป็นลักษณะ. สัมมาอาชีวะ
มีความทำอาชีพให้บริสุทธิ์โดยชอบเป็นลักษณะ. สัมมาวายามะ. มีความ
ประคองไว้ชอบเป็นลักษณะ. สัมมาสติ มีความปรากฏขึ้นชอบเป็น
ลักษณะ. สัมมาสมาธิ มีความตั้งใจชอบเป็นลักษณะ.
ในมรรคมีองค์ ๘ นั้น มรรคหนึ่ง ๆ มีกิจ ๓ อย่าง คือ ก่อนอื่น
สัมมาทิฏฐิ ละมิจฉาทิฏฐิพร้อมกับกิเลสที่เป็นข้าศึกของตนแม้อย่างอื่น ๆ
กระทำนิโรธให้เป็นอารมณ์ เห็นสัมปยุตธรรม เพราะไม่หลง ด้วยอำนาจ
การกำจัดโมหะที่ปกปิดสัมมาทิฏฐินั้น. แม้สัมมาสังกัปปะเป็นต้นก็เหมือน
กัน ละมิจฉาสังกัปปะเป็นต้น และทำนิโรธให้เป็นอารมณ์.
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในมรรคนี้ สัมมาสังกัปปะ ดำริถึงสหชาตธรรม
สัมมาวาจา กำหนดถือเอาชอบ สัมมากัมมันตะ ตั้งขึ้นซึ่งการงานชอบ
สัมมาอาชีวะ ทำอาชีพให้บริสุทธิ์โดยชอบ สัมมาวายามะ ประคองไว้ชอบ
สัมมาสติ ปรากฏขึ้นชอบ สัมมาสมาธิ ตั้งใจชอบ.
อีกประการหนึ่ง ธรรมดาว่าสัมมาทิฏฐินี้ในเบื้องต้นมีขณะต่างกัน
มีอารมณ์ต่างกัน ( แต่ ) ในเวลาเป็นมรรค มีขณะเดียวกัน มีอารมณ์
เดียวกัน. แต่เมื่อว่าโดยกิจได้ชื่อ ๔ ชื่อมีว่า ทุกฺเข าณํ ดังนี้เป็นต้น.
แม้สัมมาสังกัปปะเป็นต้น ก็มีขณะต่างกัน มีอารมณ์ต่างกันในเบื้องต้น
แต่ในเวลาเป็นมรรค มีขณะเดียวกัน มีอารมณ์เดียวกัน. ในมรรคเหล่านั้น
สัมมาสังกัปปะ เมื่อว่าโดยกิจ ได้ชื่อ ๓ ชื่อมีว่า เนกขัมมสังกัปปะ
ดังนี้เป็นต้น. องค์มรรค ๓ แม้มีสัมมาวาจาเป็นต้น ในเบื้องต้น มีขณะ
ต่างกัน มีอารมณ์ต่างกัน คือ เป็นวิรัติบ้าง เป็นเจตนาบ้าง แต่ใน
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 59/893/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๑๐. กุกกุฏชาดก
ว่าด้วยพ้นศัตรูเพราะรู้เท่าทันอาทิผิด
[๑๔๒๒] บุคคลไม่พึงคุ้นเคยในคนทำบาป คน
มักพูดเหลาะแหละ คนมีปัญญาคิดแต่ประ-
โยชน์ตน คนแสร้งทำสงบเสงี่ยมแต่ภายนอก.
[๑๔๒๓] มีคนพวก ๑ มีปกติเหมือนโคกระหาย
น้ำทำทีเหมือนจะกล้ำกลืนมิตรด้วยวาจา แต่ไม่
ใช้ด้วยการงาน ไม่ควรคุ้นเคยในคนเช่นนี้.
[๑๔๒๔] คนพวก ๑ เป็นคนชูมือเปล่า พัวพัน
อยู่แต่ด้วยวาจา เป็นมนุษย์กระพี้ ไม่มีความ
กตัญญู ไม่ควรนั่งใกล้คนเช่นนั้น.
[๑๔๒๕] บุคคลไม่ควรคุ้นเคยต่อสตรีหรือบุรุษผู้
มีจิตกลับกลอก ไม่ทำความเกี่ยวข้องให้แจ้ง-
ชัดด้วยเหตุต่าง ๆ.
[๑๔๒๖] ไม่ควรคุ้นเคยกับบุคคล ผู้หยั่งลงสู่
กรรมอันไม่ประเสริฐ เป็นคนไม่แน่นอน กำ-
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 75/200/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ธรรมที่ชื่อว่า สาสวะ เพราะมีอาสวะพร้อมกับทำตนให้เป็นอารมณ์
เป็นไป. ชื่อว่า อนาสวะ เพราะอรรถว่า อาสวะของธรรมเหล่านั้นที่กำลัง
เป็นไปอยู่อย่าอาทิผิด อักขระได้มี. พึงทราบคำที่เหลือในเหตุโคจฉกะโดยนัยที่กล่าวแล้ว.
ส่วนความที่แปลกอาทิผิด อักขระกันมีดังต่อไปนี้
ในเหตุโคจฉกะนั้น ทุกะสุดท้ายว่า น เหตู โข ปน ธมฺมา
สเหตุกาปิ อเหตุกาปิ นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสวางบทที่สองแห่งทุกะแรก
ไว้ในเบื้องต้น ฉันใด ในอาสวโคจฉกะนี้ไม่ตรัสบทสุดท้ายว่า โน อาสวา
โข ปน ธมฺมา สาสวาปิ อนาสวาปิ ฉันนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า
ไม่ตรัสไว้ก็จริง ถึงอย่างนั้นก็พึงทราบเนื้อความนี้และความแตกต่างกัน โดยนัย
ที่ตรัสไว้ในเหตุโคจฉกะนั้น.
ว่าด้วยสัญโญชนโคจฉกะ
พึงทราบวินิจฉัยในสัญโญชนโคจฉกธรรม ต่อไป
ธรรมที่ชื่อว่า สัญโญชน์ เพราะอรรถว่า ย่อมประกอบ คือ ผูกพัน
บุคคลผู้มีสัญโญชน์ไว้ในวัฏฏะ ธรรมนอกจากนั้น ไม่ชื่อว่า สัญโญชน์.
ธรรมที่ชื่อว่า สัญโญชนิยะ เพราะอรรถว่า เข้าถึงความเป็นอารมณ์เกื้อกูล
แก่สัญโญชน์ทั้งหลายด้วยความเกี่ยวข้องกับสัญโญชน์ คำว่า สัญโญชนิยะนี้
เป็นชื่อของธรรมที่เป็นอารัมมณปัจจัยของสัญโญชน์. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนิยะ
ชื่อว่า อสัญโญชนิยธรรม. คำที่เหลือพึงประกอบความโดยนัยที่กล่าวแล้วใน
โคจฉกะนั้นแล.
ว่าด้วยคัณฐโคจฉกะ
พึงทราบวินิจฉัยในคัณฐโคจฉกะ ต่อไป
ธรรมที่ชื่อว่า คัณฐะ เพราะอรรถว่า ผูก คือ เชื่อมต่อบุคคลผู้มี
พระปิฎกธรรม