星期三, 二月 01, 2023

Khambhakata

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 4/902/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระบัญญัติ
๑๗๓. ๒๘. ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักจ้องในบาตร
รับบิณฑบาต.
สิกขาบทวิภังค์
อันภิกษุพึงแลดูบาตรรับบิณฑบาต ภิกษุใดอาศัยความไม่เอื้อเฟื้อ
รับบิณฑบาตพลางเหลียวแลไปในที่นั้น ๆ ต้องอาบัติทุกกฏ.
อนาปัตติวาร
ไม่แกล้ง ๑ เผลอ ๑ ไม่รู้ตัว ๑ อาพาธ ๑ มีอันตราย ๑ วิกลจริต ๑
อาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.
ขัมภกตอาทิผิด อักขระวรรค สิกขาบทที่ ๘ จบ
ขัมภกตอาทิผิด อักขระวรรค สิกขาบทที่ ๙
[๘๒๘] สาวัตถีนิทาน. ครั้งนั้น พระฉัพพัคคีย์รับบิณฑบาต รับ
แต่สูปะเป็นส่วนมาก . . .
พระบัญญัติ
๑๗๔. ๒๙. ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักรับบิณฑบาตมี
สูปะเสมอกัน.
สิกขาบทวิภังค์
ที่ชื่อว่า สูปะ มีสองชนิด คือ สูปะทำด้วยถั่วเขียว ๑ สูปะทำด้วย
ถั่วเหลือง ๑ ที่จับได้ด้วยมือ.
อันภิกษุพึงรับบิณฑบาตมีสูปะพอสมกัน ภิกษุใดอาศัยความไม่เอื้อเฟื้อ
รับแต่สูปะอย่างเดียวเป็นส่วนมาก ต้องอาบัติทุกกฏ.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: