星期四, 二月 09, 2023

Anupuppha Sikkha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 37/412/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ท้องแดง และสังข์สำหรับเป่าเป็นต้น. บทว่า สิลา ความว่า สิลา
มีหลายอย่างต่างโดยสีมีสีขาว สีดำ และสีดังเมล็ดถั่วเขียวเป็นต้น.
บทว่า ปวาฬํ ความว่า แก้วประพาฬมีหลายอย่างต่างโดยชนิดเล็ก
ใหญ่ แดง และแดงทึบเป็นต้น. บทว่า มสารคลฺลํ ได้แก่ แก้วลาย.
บทว่า นาคา ได้แก่ นาคที่อยู่บนหลังคลื่นก็มี นาคที่อยู่วิมานก็มี.
บทว่า อฏฺ ปหาราท ความว่า พระศาสดาทรงสามารถตรัสธรรม
๘ ประการบ้าง ๑๖ ประการบ้าง ๓๒ ประการบ้าง ๖๔ ประการ
บ้าง ๑๐๐ บ้าง ๑,๐๐๐ บ้าง แต่ทรงพระดำริว่า ปหาราทะกล่าว
๘ ประการ แม้เราก็จักกล่าวให้เห็นสมกับธรรม ๘ ปหาราทะ
กล่าวนั้นนั่นแหละ จึงได้ตรัสอย่างนั้น.
พึงทราบวินิจฉัยในคำว่า อนุปุพฺพสิกฺขา เป็นต้นต่อไปนี้.
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงถือเอาสิกขา ๓ ด้วยอนุปุพพอาทิผิด สิกขา
ทรงถือเอาธุดงค์ ๑๓ ด้วยอนุปุพพกิริยา. ทรงถือเอาอนุปัสสนา ๗
มหาวิปัสสนา ๑๘ การจำแนกอารมณ์ ๓๘ โพธปักขิยธรรม ๓๗
ด้วยปทา. บทว่า อายตเกเนว อญฺปฏิเวโธ ความว่า ชื่อว่า
ภิกษุผู้ไม่กระทำให้บริบูรณ์ในศีลเป็นต้น ตั้งแต่ต้นแล้วบรรลุ
พระอรหัต เหมือนอย่างกบกระโดดไปไม่มี เพราะเหตุนั้น จึงอธิบายว่า
ก็ภิกษุบำเพ็ญศีล สมาธิ และปัญญา ตามลำดับเท่านั้น จึงอาจบรรลุ
พระอรหัตได้.
บทว่า อารกาว แปลว่า ในที่ไกลนั่นแล. บทว่า น เตน
นิพฺพานธาตุยา อูนตฺตํ วา ปูรตฺตํ วา ความว่า เมื่ออาทิผิด อักขระพระพุทธเจ้า
ทั้งหลายไม่เสด็จอุบัติขึ้น แม้ตลอดอสงไขยกัป แม้สัตว์ตนหนึ่ง
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: