Mai
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 16/153/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
จิตตะ ดังนี้ ย่อมเที่ยวไป ณ ที่นั้น. บทว่า ไก่ คือ ไก่ป่า. บทว่า ปู
คือ ปูทอง. บทว่า ในป่า คือ ในสระประทุม. บทว่า โปกฺขรสาตกา
ได้แก่ พวกนกชื่อ โปกฺขรสาตกา. บทว่า สุกสาลิกสทฺเทตฺถ ความว่า
ในสระนั้น มีเสียงนกสุกะ และนกสาลิกา. บทว่า หมู่นกทัณฑมาณวก
คือนกมีหน้าเหมือนคน. ได้ยินว่า นกเหล่านั้น เอาเท้าทั้งสองจับไม้อาทิผิด อาณัติกะทองคำ
แล้วเหยียบใบบัวใบหนึ่ง วางไม้ทองคำลงอาทิผิด สระในบัวอันไม่มีระหว่าง เที่ยวไป.
บทว่า สพฺพกาลํ สา ความว่า สระโบกขรณีนั้นงามตลอดกาล. บทว่า
สระนพินีของท้าวกุเวร ความว่า สระนพินีของท้าวกุเวรเป็นสระปทุม
สระนั้นชื่อ ธรณี งามอยู่ตลอดเวลาทุกเมื่อ.
ท้าวเวสวัณ ยังอาฏานาฏิยรักษ์ให้สำเร็จลงแล้ว เมื่อจะแสดงการ
บริกรรม พระปริตนั้นจึงกล่าวบทนี้ว่า คนใดคนหนึ่ง. ในบทเหล่านั้น
บทว่า เรียนดีแล้ว ความว่า อาฏานาฏิยรักษ์ อันผู้ใดผู้หนึ่ง ชำระอรรถ
และพยัญชนะ และเรียนด้วยดี. บทว่า เล่าเรียนครบถ้วน ความว่า ไม่
ให้บทและพยัญชนะ เสื่อมแล้วเล่าเรียนครบถ้วน. ท่านแสดงไว้ว่า จริงอยู่
พระปริต ย่อมไม่เป็นเดช แก่ผู้กล่าวผิด อรรถบ้าง บาลีบ้าง หรือว่าไม่ทำ
ให้คล่องแคล่ว. พระปริตย่อม เป็นเดชแก่ผู้ทำให้คล่องแคล่ว ด้วยประการ
ทั้งปวง แล้วกล่าวแน่แท้. แม้เมื่อเรียนเพราะลาภเป็นเหตุ แล้วกล่าวอยู่
ก็ไม่สำเร็จประโยชน์. พระปริตย่อมมีประโยชน์แก่ผู้ตั้งอยู่ในฝ่ายแห่ง
การออกไปจากทุกข์ แล้วกระทำเมตตาให้เป็น ปุเรจาริก กล่าวอยู่นั่นแล.
บทว่า ยักขปจาระ คือผู้รับใช้ยักษ์. บทว่า วัตถุ ได้แก่ วัตถุคือ เรือน.
บทว่า ที่อยู่ได้แก่การอยู่เป็นนิจในเรือนนั้น. บทว่า สมิตึ คือ การสมาคม.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论