星期一, 五月 29, 2023

Phian

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 48/159/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
นางเทพธิดานั้น ถูกพระโมคคัลลานะถามแล้ว
ดีใจ ก็พยากรณ์ปัญหาของกรรมที่มีผลอย่างนี้ เทวดา
ตอบว่า
ครั้งเกิดเป็นมนุษย์อยู่ในหมู่มนุษย์ ดีฉันได้เป็น
ทาสีหญิงรับใช้อาทิผิด ในตระกูลอื่น ดิฉันนั้นเป็นอุบาสิกา
ของพระโคดม ผู้มีพระจักษุและพระเกียรติยศ พาก-
เพียรอาทิผิด อักขระออกไปจากกิเลส ในศาสนาของพระโคดมผู้ทรง
พระคุณคงที่ เพราะมีมนสิการมั่นอยู่ในจิตว่า แม้ถึง
ร่างกายนี้ จะแตกทำลายไปก็ตามที่ การจะหยุด
ความเพียรในการเจริญกัมมัฏฐานนี้ ไม่มีเป็นอันขาด
ทาง [ มรรค ] แห่งสิกขาบท ๕ [ศีล ๕] เป็นทาง
สวัสดี มีความเจริญู ไม่มีหนาม ไม่รก เป็นทางตรง
สัตบุรุษประกาศแล้ว ท่านโปรดดูผลแห่งความเพียร
คือที่ดีฉันบรรลุอริยมรรค ตามอุบายที่ต้องการเถิดอาทิผิด อักขระ
ดีฉันถูกท้าวสักกเทวราชผู้มีอำนาจเชิญมา เหล่า
ดุริยเทพหกหมื่น ช่วยกันปลุกดีฉัน คือ เทพบุตร
นามว่า อาลัมพะ คัคคมะ ภีมะ สาธุวาทิ ปสังสยะ
โปกขระ และสุผัสสะ และเหล่าเทพธิดาวัยรุ่น นาม
ว่า วีณา โมกขา นันทา สุนันทา โสณทินนา
สุจิมหิตา อาลัมพุสา มิสสเกสี บุณเฑริกา และ
เทพกัญญาอีกพวกหนึ่งเหล่านี้คือ นางเอนิปัสสา
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 五月 28, 2023

Diao

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 32/189/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เป็นมัชฌิมชนบท. ในทิศทักษิณ มีนิคมอาทิผิด อักขระชื่อว่าเสตกัณณิกะ ถัดจาก
เสตกัณณิกนิคมนั้นไปเป็นปัจจันตชนบท ร่วมในเป็นมัชฌิมชนบท
ในทิศประจิม มีบ้านพราหมณ์ ชื่อว่าถูนะ ถัดจากบ้านพราหมณ์นั้นไป
เป็นปัจจันตชนบท ร่วมในเป็นมัชฌิมชนบท ในทิศอุดร มีภูเขา
ชื่อว่า อุสีรธชะ ถัดจากเขานั้นไปเป็นปัจจันตชนบท ร่วมในเป็น
มัชฌิมชนบท. พระตถาคตย่อมอุบัติ ในมัชฌิมประเทศ ที่ท่านกำหนด
ดังกล่าวมาแล้วนั้น โดยส่วนยาว วัดได้ ๓๐๐ โยชน์ โดยส่วนกว้าง
วัดได้ ๑๕๐ โยชน์ วัดโดยรอบได้ ๙๐๐ โยชน์. อนึ่งพระตถาคต
หาได้อุบัติแต่ลำพังพระองค์อย่างเดียวอาทิผิด อักขระไม่ พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย
พระอัครสาวก พระอสีติมหาเถระ แม้ท่านผู้มีบุญอื่น ๆ ก็ย่อมเกิด
ขึ้น. พระพุทธมารดา พระพุทธบิดา พระเจ้าจักรพรรดิ์ และ
พราหมณ์คฤหบดี ผู้เป็นบุคคลสำคัญเหล่าอื่น ก็ย่อมเกิดในมัชฌิม-
ประเทศนี้เหมือนกัน.
ก็บทว่า อุปฺปชฺชมาโน อุปฺปชฺชติ ทั้งสองนี้ เป็นคำกล่าว
ค้างไว้เท่านั้น. ก็ในคำนี้พึงทราบความอย่างนี้ว่า พระตถาคตเมื่อ
อุบัติ ย่อมอุบัติเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ชนเป็นอันมาก หาอุบัติ
ด้วยเหตุอื่นไม่. ก็ในอธิการนี้ ลักษณะเห็นปานนี้ ใคร ๆ หาอาจ
คัดค้านคำทั้งสองนั่นโดยลักษณะศัพท์อื่นไม่.
อีกอย่างหนึ่ง พึงทราบความต่างกันในคำนี้ ดังนี้ว่า อุปฺปชฺ-
ชมาโน นาม (ชื่อว่าเมื่อจะอุบัติ ) อุปฺปชฺชติ นาม (ชื่อว่ากำลังอุบัติ)
อุปฺปนฺโน นาม (ชื่อว่าอุบัติแล้ว.) จริงอยู่ พระพุทธองค์ได้รับคำ
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 五月 26, 2023

Si Duean

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 55/187/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ท่านเรียนบทเหนือ ๆ ขึ้นไป บทที่เรียนแล้ว ๆ ก็เลือนหายไป เมื่อท่าน
จุลลปันถกนั้นพยายามเรียนคาถานี้เท่านั้น ๔ เดือนล่วงไปแล้ว ลำดับนั้น
พระมหาปันถกจึงคร่าพระจุลลปันถกนั้น ออกจากวิหารโดยกล่าวว่า จุลลปันถก
เธอเป็นผู้อาภัพในพระศาสนานี้โดย  เดือนไม่อาจเรียนคาถาเดียวได้ ก็เธอจัก
ทำกิจแห่งบรรพชิตให้ถึงที่สุดได้อย่างไร จงออกไปจากวิหาร. พระจุลลปันถก
ไม่ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ เพราะความรักในพระพุทธศาสนา.
ในคราวนั้น พระมหาปันถกได้เป็นพระภัตตุเทสก์ผู้แจกภัต. หมอ
ชีวกโกมารภัจถือของหอมและดอกไม้เป็นอันมากไปยังอัมพวันของตน บูชา
พระศาสดาฟังธรรมแล้วลุกขึ้นจากอาสนะ ถวายบังคมพระทศพลแล้วเข้าไปหา
พระมหาปันถกถามว่า ท่านผู้เจริญในสำนักของพระศาสดา มีภิกษุเท่าไร ? พระ-
มหาปันถกกล่าวว่า มีภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป. หมอชีวกกล่าวว่า ท่านผู้เจริญ
พรุ่งนี้ ท่านจงพาภิกษุ ๕๐๐ รูปมีพระพุทธเจ้าเป็นประธาน ไปรับภิกษาใน
นิเวศน์ของผม. พระเถระกล่าวว่า อุบาสก. ชื่อว่าพระจุลลปันถกเป็นผู้เขลามี
ธรรมไม่งอกงาม อาตมอาทิผิด อักขระภาพจะนิมนต์เพื่อภิกษุที่เหลือยกเว้น พระจุลลปันถกนั้น.
พระจุลลปันถกได้ฟังดังนั้น จึงคิดว่า พระเถระพี่ชายของเราเมื่อรับนิมนต์ เพื่อ
ภิกษุทั้งหลายมีประมาณเท่านี้ก็รับ กันเราไว้ภายนอก พี่ชายของเราจักผิดใจ
ในเราโดยไม่ต้องสงสัย บัดนี้ เราจะประโยชน์อะไรด้วยพระศาสนานี้ เราจัก
เป็นคฤหัสถ์กระทำบุญมีทานเป็นต้นเลี้ยงชีวิต. วันรุ่งขึ้น พระจุลลปันถกนั้น
ไปแต่เช้าตรู่ด้วยคิดว่า จักเป็นคฤหัสถ์ ในเวลาใกล้รุ่ง พระศาสดาทรงตรวจ
โลก ได้ทรงเห็นเหตุนั้นนั่นแล จึงเสด็จไปก่อนล่วงหน้า ได้ประทับยืนจง
กรมอยู่ที่ซุ้มประตู ใกล้ทางที่พระจุลลปันถกจะไป. พระจุลลปันถกเมื่อจะเดิน
ไปสู่เรือน เห็นพระศาสดาจึงเข้าไปเฝ้าแล้วถวายบังคม.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 五月 25, 2023

Toi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 55/177/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
การอยู่เป็นสุขนั้นนั่นแหละที่บุคคลผู้ปรารภความเพียร ผู้ไม่ทำความยึดมั่น
ผู้เห็นแจ้ง จะพึงบรรลุได้ด้วยกำลังและความเพียร จึงตรัสว่า มุนีผู้ประกอบ
ด้วยความเพียรและกำลัง เป็นผู้ไม่เกียจคร้าน พึงได้ความสงบใจ ฉันนั้น.
ท่านกล่าวคำอธิบายนี้ไว้ว่า พ่อค้าเหล่านั้นไม่เกียจคร้าน ขุดอยู่ในทางทราย
ย่อมได้น้ำ ฉันใด ภิกษุในศาสนานี้ก็ฉันนั้น เป็นผู้ฉลาด ไม่เกียจคร้าน
พากเพียรอยู่ ย่อมได้ความสงบใจอันต่างด้วยปฐมฌานเป็นต้น. ดูก่อนภิกษุ
ในกาลก่อน เธอนั้นกระทำความเพียรเพื่อต้องการทางน้ำ บัดนี้ เพราะเหตุไร
เธอจึงละความเพียรในศาสนาอันเป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เพื่อประโยชน์แก่
มรรคผลเห็นปานนี้.
พระศาสดาอาทิผิด อักขระครั้นทรงแสดงพระธรรมเทศนานี้ อย่างนี้แล้ว จึงทรง
ประกาศสัจจะ ๔. ในเวลาจบสัจจะ ภิกษุผู้ละความเพียรดำรงอยู่ในพระอรหัต
อันเป็นผลอันเลิศ. แม้พระศาสดาก็ตรัสเรื่อง ๒ เรื่องสืบต่อกัน ทรงประชุม
ชาดกแสดงว่า คนรับใช้ผู้ไม่ละความเพียร ต่อยอาทิผิด อักขระหินให้น้ำแก่มหาชน ในสมัย
นั้น ได้เป็นภิกษุผู้ละความเพียรรูปนี้ ในบัดนี้ บริษัทที่เหลือในสมัยนั้น
เป็นพุทธบริษัทในบัดนี้ ส่วนหัวหน้าพ่อค้าเกวียนได้เป็นเรา ดังนี้ ได้ให้
พระธรรมเทศนานี้จบลงแล้ว.
จบ วัณณุปถชาดกที่ ๒
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 五月 23, 2023

Tamnaeng

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 21/204/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
จึงนำหนังสือออกมาวางตรงหน้าพระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วกราบทูลว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ นี่เป็นข่าวการตายของเสนาบดีกับบุตร ๓๒ คน หม่อม-
ฉันมิได้คิดแม้เรื่องนี้ เหตุไรจะคิดเพราะเหตุหม้อสัปปี (แตก). พระผู้มีพระ-
ภาคเจ้าทรงกระทำธรรมีกถาให้ปฏิสังยุตอาทิผิด อาณัติกะด้วยสามัญลักษณะมีความไม่เที่ยงเป็นต้น
ว่า ดูก่อนนางมัลลิกา อย่าคิด (มาก) ไปเลย ธรรมดาในสังสารวัฏฏ์มีที่สุด
และเบื้องต้นอันใคร ๆ ไปตามอยู่ รู้ไม่ได้แล้ว ย่อมเป็นไปเช่นนั้น แล้วเสด็จ
กลับ. นางมัลลิกาเรียกลูกสะใภ้ ๓๒ คน มาให้โอวาท. พระราชารับสั่งให้
นางมัลลิกาเข้าเฝ้า ตรัสถามว่า ในระหว่างเสนาบดีกับเรา โทษที่แตกกันมีหรือ
ไม่มี.๑. นางทูลว่า ไม่มี พะยะค่ะ. พระราชาทรงทราบว่า เสนาบดีนั้น
ไม่มีความผิดตามคำของนาง จึงมีความเดือดร้อนอาทิผิด อักขระเกิดความเสียพระทัยอย่างล้น
พ้น. พระองค์ทรงรำพึงว่า ได้นำสหายผู้ยกย่องเราว่ากระทำสิ่งที่หาโทษมิได้
เห็นปานนี้มาแล้วให้พินาศแล้ว ตั้งแต่นั้นไป ก็ไม่ได้ความสบายพระทัยในปราสาท
หรือในเหล่านางสนม หรือความสุขในราชสมบัติทรงเริ่มเที่ยวไปในที่นั้น ๆ.
กิจอันนี้แหละได้มีแล้ว. หมายถึงเรื่องนี้ จึงกล่าวไว้ว่า ด้วยราชกรณียกิจ
อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้.
บทว่า ทีฆํ การายนํ ความว่า ทีฆการายนะซึ่งเป็นหลานของ
พันธุละเสนาบดีคิดว่า พระราชาทรงฆ่าลุงของเรา ผู้มิได้ทำผิดนั้นโดยไม่มีเหตุ
พระราชาได้ทรงตั้งไว้ในตำแหน่งอาทิผิด อักขระเสนาบดีแล้ว. คำนั้น ท่านกล่าวหมายถึง
เรื่องนี้. คำว่า มหจฺจราชานุภาเวน ความว่า ด้วยราชานุภาพอันใหญ่
หมายความว่า ด้วยหมู่พลมากมายงดงามด้วยเพศอันวิจิตร ดุจถล่มพื้นธรณี
ให้พินาศ ประหนึ่งจะยังสาครให้ป่วนปั่นฉะนั้น . บทว่า ปาสาทิกานิ ความว่า
อันให้เกิดความเลื่อมใสพร้อมทั้งน่าทัศนาทีเดียว. บทว่า ปาสาทนียานิ เป็น

๑. สี. จิตฺตโทโส.
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 五月 22, 2023

Chueng

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 56/193/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
คุณเจ้าต้องการจะใช้สอย จงไปยืนอยู่ในที่ชื่อโน้น เรียกข้าพเจ้า
ว่า “อุนทุระ” เถิด ดังนี้แล้วก็ลาไป. ส่วนนกแขกเต้า ไหว้พระ-
ดาบสแล้วกล่าวว่า ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้าไม่มีทรัพย์
แต่เมื่อพระคุณเจ้าจะต้องการข้าวสาลีแดงละก็ โปรดไปที่อยู่
ของข้าพเจ้า ในที่ชื่อโน้น เรียกข้าพเจ้าว่า “สุวะ” ข้าพเจ้า
สามารถจะบอกแก่ฝูงญาติ ให้ช่วยขนข้าวสาลีอาทิผิด อักขระสีแดงมาถวายได้
หลายเล่มเกวียน แล้วลาไป. ฝ่ายพระราชกุมาร เพราะฝังใจใน
ธรรมของผู้ประทุษร้ายมิตร เป็นสันดาน คิดได้ว่า การที่เรา
จะไม่พูดอะไร ๆ บ้าง ไปเสียเฉย ๆ ไม่เหมาะเลย เราจักฆ่า
ดาบสเสียเวลาที่ท่านมาหาเรา จึงอาทิผิด สระกล่าวว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า
ผู้เจริญ เมื่อข้าพเจ้าดำรงอยู่ในราชสมบัติแล้ว นิมนต์มาเถิด
กระผมจักบำรุงพระคุณเจ้าด้วยปัจจัย ๔ แล้วก็ลาไป. พระกุมาร
นั้นเสด็จไปได้ไม่นาน ก็ดำรงอยู่ในราชสมบัติ.
พระโพธิสัตว์ดำริว่า เราจักทดสอบคนเหล่านั้น ดังนี้แล้ว
จึงไปสู่สำนักงูก่อน ยืนอยู่ไม่ห่าง เรียกว่า “ทีฆะ”. เพียงคำเดียว
เท่านั้น งูก็เลื้อยออกมาไหว้พระโพธิสัตว์กล่าวว่า ข้าแต่พระคุณ-
เจ้าผู้เจริญ ที่ตรงนี้มีทรัพย์อยู่ ๔๐ โกฏิ นิมนต์พระคุณเจ้าขุด
ค้นขนเอาไปให้หมดเถิด. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า เอาไว้อย่างนี้แหละ
เมื่อมีกิจเกิดขึ้นจึงจะรู้กัน บอกให้งูกลับไปแล้วเลยไปสำนัก
ของหนู เอ่ยเสียงเรียก. แม้หนูก็ปฏิบัติดังนั้นเหมือนกัน. พระ-
โพธิสัตว์ก็บอกให้หนูกลับไป. เลยไปสำนักนกแขกเต้า เรียกว่า
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 五月 20, 2023

Sap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 38/159/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ต้องนุ่งผ้าขาด ผ้าปะ ผ้าย้อมน้ำฝาด จำต้องฉันแต่ข้าวคลุกในบาตรเหล็ก
หรือบาตรดิน จำต้องนอนแต่บนเตียงลาดด้วยหญ้าเป็นต้น ในเสนาสนะ
มีโคนไม้เป็นอาทิ จำต้องนั่งบนท่อนหนังอาทิผิด และเสื่อลำแพนเป็นต้น จำต้อง
ประกอบยาด้วยน้ำมูตรเน่าเป็นต้น. พึงทราบความมีเพศต่างโดยบริขาร
ในข้อนี้ ด้วยประการฉะนี้. ก็บรรพชิตอาทิผิด อักขระพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมละโกปะ
ความขัดใจ และมานะความถือตัวเสียได้.
บทว่า ปรปฏิพทฺธา เม ชีวิกา ความว่า บรรพชิตพึงพิจารณา
อย่างนี้ว่า ความเป็นอยู่ด้วยปัจจัย ๔ จำต้องเกี่ยวเนื่องในผู้อื่น อิริยาบถ
ก็สมควร อาชีวะการเลี้ยงชีพก็บริสุทธิ์ ทั้งเป็นอันเคารพยำเกรงบิณฑ-
บาต ชื่อว่าเป็นผู้บริโภคไม่พิจารณาในปัจจัย ๔ ก็หามิได้.
บทว่า อญฺโญ เม อากกฺโป กรณีโย ความว่า บรรพชิตพึงพิจารณา
ว่าอากัปกิริยาเดินอันใดของเหล่าคฤหัสถ์ คือย่างก้าวไม่กำหนด โดยอาการ
ยืดอกคอตั้งอย่างสง่างาม เราพึงทำอากัปกิริยาต่างไปจากอากัปกิริยาของ
คฤหัสถ์นั้น เราพึงมีอินทรีย์สงบ มีใจสงบ มองชั่วแอก ย่างก้าวกำหนด
แต่น้อย [ไม่ย่างก้าวยาว] พึงเดินไปเหมือนนำเกวียนบรรทุกน้ำไปในที่
ขรุขระ. ด้วยว่า บรรพชิตพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมมีอากัปกิริยาสมควร
สิกขา ๓ ย่อมบริบูรณ์.
ศัพท์อาทิผิด อักขระว่า กจฺจิ นุ โข รวมนิบาตลงในความกำหนด. บทว่า อตฺตา
ได้แก่ จิต. บทว่า สีลโต น อุปวทติ ได้แก่ ไม่ตำหนิตนเองเพราะศีลเป็น
ปัจจัยอย่างนี้ว่าศีลของเราไม่บริบูรณ์. ด้วยว่า บรรพชิตพิจารณาอยู่อย่างนี้
ย่อมตั้งหิริความละอายขึ้นภายใน. หิรินั้น ก็ให้สำเร็จความสำรวมใน
ทวารทั้ง ๓. ความสำรวมในทวารทั้ง ๓ ย่อมเป็นจตุปาริสุทธิอาทิผิด สระศีล บรรพ-
ชิตผู้ตั้งอยู่ในจตุปาริสุทธิศีล เจริญวิปัสสนาแล้ว ย่อมยึดพระอรหัตไว้ได้.
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 五月 16, 2023

Lup Lai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 69/168/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ไม่มีผู้อื่นแนะนำ ท่านอธิบายว่า ชื่อว่า พุทฺโธ เพราะอรรถว่าตรัสรู้ด้วย
พระองค์เองโดยไม่ตรัสรู้ด้วยผู้อื่น. บทว่า วิสวิตาย พุทฺโธ ชื่อว่า พุทฺโธ
เพราะมีพระสติอาทิผิด สระไพบูลย์ ท่านอธิบายว่า ชื่อว่า พุทฺโธ เพราะอรรถว่าแย้ม
ดุจดอกบัวแย้มโดยที่ทรงแย้มด้วยคุณต่าง ๆ. ท่านอธิบายว่า ชื่อว่า พุทฺโธ
เพราะเป็นผู้ฉลาดในการสิ้นไปแห่งการนอนหลับด้วยกิเลสทั้งปวงด้วยละธรรม
อันทำจิตให้ท้อแท้โดยปริยาย ๖ มีอาทิว่า ขีณาสวงฺขาเตน พุทฺโธ ชื่อว่า
พุทฺโธ เพราะนับว่าพระองค์สิ้นอาสวะ ดุจบุรุษผู้ฉลาดในการสิ้นไปแห่งการ
นอนหลับ. เพราะบทว่า สงฺขา สงฺขาตํ โดยอรรถเป็นอย่างเดียวกัน
ความว่า โดยส่วนแห่งคำว่า สงฺขาเตน. ชื่อว่า เพราะนับว่าไม่มีเครื่องลูบไล้
เพราะไม่มีเครื่องลูบไล้อาทิผิด อาณัติกะต่อตัณหาและเครื่องลูบไล้ต่อทิฏฐิ. ท่านอธิบายบทมีอาทิ
ว่า เอกนฺตวีตราโค ทรงปราศจากราคะโดยส่วนเดียวให้แปลกด้วยคำว่า
โดยส่วนเดียว เพราะละกิเลสทั้งปวงพร้อมด้วยวาสนาได้แล้ว. บทว่า เอกนฺ-
ตนิกฺกิเลโส พระองค์ไม่มีกิเลสโดยส่วนเดียว คือ ไม่มีกิเลสด้วยกิเลสทั้งปวง
อันเหลือจาก ราคะ โทสะ และโมหะ. ชื่อว่า พุทฺโธ เพราะเสด็จไปแล้วสู่
หนทางไปแห่งบุคคลผู้เดียว แม้อรรถแห่งการตรัสรู้ ก็ชื่อว่า เป็นอรรถแห่ง
การไปสู่ธาตุทั้งหลาย เพราะอรรถแห่งการตรัสรู้อันเป็นอรรถแห่งการไปถึง
เพราะฉะนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ชื่อว่า พุทฺโธ เพราะเสด็จไปสู่หนทางที่ไปแห่ง
บุคคลผู้เดียว.
อนึ่ง ในบทว่า เอกายนมคฺโค นี้ ท่านกล่าวชื่อของทางไว้ในชื่อ
เป็นอันมากกว่า
มรรค ปันถะ ปถะ ปัชชะ อัญชสะ วฏุมะ
อายนะ นาวา อุตตรสตุ (สะพานข้าม) กุลล (แพ)
สังกมะ (ทางก้าวไป).
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 五月 15, 2023

Yuet Thue

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 49/180/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ได้แก่ ซึ่งนางติสสา. บทว่า อวจ แปลว่า ได้กล่าวแล้ว. ก็เพื่อ
จะแสดงถึงอาการที่นางติสสากล่าว จึงได้กล่าวคำมีอาทิว่า ปาปกมฺมํ
กรรมชั่ว. บาลีว่า ปาปกมฺมานิ ดังนี้ก็มี. นางเปรตกล่าวว่า ท่าน
กระทำกรรมชั่วอย่างเดียว แต่ท่านไม่ได้สุคติด้วยดี เพราะกรรมชั่ว
โดยที่แท้ ได้แต่ทุคติอาทิผิด เท่านั้น เพราะฉะนั้น ท่านได้กล่าว คือโอวาท
เราในกาลก่อน โดยอาการใด กรรมนั้นก็ย่อมมีโดยอาการนั้น
เหมือนกัน.
นางติสสาได้ฟังดังนั้นแล้ว จึงได้กล่าว ๓ คาถา โดยนัยมี
อาทิว่า วามโต มํ ตฺวํ ปจฺเจสิ ท่านไม่เชื่อถือเรา ดังนี้. บรรดา
บทเหล่านั้น บทว่า วามโต นํ ตฺวํ ปจฺเจสิ ความว่า ท่านเชื่อเรา
โดยอาการผิดตรงกันข้าม คือ ท่านยึดถืออาทิผิด สระเราแม้ผู้แสวงหาประโยชน์
แก่ท่าน ก็ทำให้เป็นข้าศึก. บทว่า มํ อุสูยสิ แปลว่า ท่านริษยาเรา
คือ ทำความริษยาเรา. ด้วยบทว่า ปสฺส ปาปานํ กมฺมานํ วิปาโก
โหติ ยาทิโส นี้ นางเปรตแสดงว่า ท่านจงดูวิบากของกรรมชั่ว
ที่ร้ายกาจมากนั้น โดยประจักษ์.
บทว่า เต อญฺเญ ปริจาเรนฺติ ความว่า ทาสีในเรือนของท่าน
และเครื่องอาภรณ์เหล่านี้ที่ท่านหวงแหนไว้ในกาลก่อน บัดนี้
บำเรอคนอื่น คือ คนอื่นใช้สอย. จริงอยู่ บทว่า อิเม นี้ ท่านกล่าว
โดยเป็นลิงควิปลาส. บทว่า น โภคา โหนฺติ สสฺสตา ความว่า
ธรรมดาว่าโภคะเหล่านี้ ไม่แน่นอน คือไม่ยั่งยืนเป็นของชั่วกาล
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 五月 12, 2023

Thutthunlabat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 32/180/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถาอนาปัตติวรรคที่ ๑๒

ก็ในอนาปัตติวรรคที่ ๑๒ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้ :-
ในคำว่า อนาปตฺตึ อาปตฺติ เป็นต้น อนาบัติที่ท่านกล่าวไว้
ในที่นั้น ๆ ว่า ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุ ผู้ไม่รู้อยู่ ไม่มีไถยจิต ไม่ประสงค์
จะให้ตาย ไม่ประสงค์จะอวด ไม่ประสงค์จะปล่อย (สุกกะ) ดังนี้
ชื่อว่าอนาบัติ. อาบัติที่ท่านกล่าวไว้โดยนัยมีอาทิว่า เป็นอาบัติแก่
ภิกษุ ผู้รู้อยู่ ผู้มีไถยจิต ดังนี้ ชื่อว่า อาบัติ. อาบัติ ๕ กอง ชื่อว่า
ลหุกาบัติ (อาบัติเบา) อาบัติ ๒ กอง ชื่อว่า ครุกาบัติ (อาบัติหนัก)
อาบัติ ๒ กอง ชื่อทุฏฐุลลาบัติอาทิผิด อักขระ (อาบัติชั่วหยาบ) อาบัติ ๕ กอง ชื่อว่า
อทุฏฐุลลาบัติอาทิผิด สระ (อาบัติไม่ชั่วหยาบ) อาบัติ ๖ กอง ชื่อว่า สาวเสสาบัติ
(อาบัติที่ไม่มีส่วนเหลือ) อาบัติปาราชิก ๑ กอง ชื่อว่า อนาวเสสาบัติ
(อาบัติที่ไม่มีส่วนเหลือ) อาบัติที่มีส่วนเหลือนั่นแหละ ชื่อว่า อาบัติ
ที่ทำคืนได้ อาบัติที่ไม่มีส่วนเหลือนั่นแหละ ชื่อว่าอาบัติที่ทำคืนไม่ได้.
คำที่เหลือ ในที่ทั้งปวง มีอรรถง่ายทั้งนั้น.
จบ อรรถกถาอนาปัตติวรรคที่ ๑๒
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 五月 11, 2023

Atthaban

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/190/6  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
มะพร้าว ผลขนุน ผลสาเก น้ำเต้า ฟักเขียว แตงไท แตงโม ฟักทอง
เป็นอันทรงห้าม และอปรัณณชาติทุกชนิด มีคติอย่างธัญญชาติเหมือนกัน.
มหาผลและอปรัณณชาตินั้น ไม่ได้ทรงห้ามไว้ก็จริง ถึงกระนั้น ย่อมเข้ากับ
สิ่งที่เป็นอกัปปิยะ; เพราะเหตุนั้น จึงไม่ควรในปัจฉาภัต.
น้ำปานะ ๘ อย่าง ทรงอนุญาตไว้ น้ำปานะแห่งผลไม้เล็กมี หวาย
มะขามอาทิผิด อักขระ มะงั่ว มะขวิด สะคร้อ และเล็บเหยี่ยว เป็นต้น มีคติอย่างอัฏฐบานอาทิผิด สระ
แท้ น้ำปานะแห่งผลไม้เหล่านั้น ไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ก็จริง. ถึงกระนั้น ย่อม
เข้ากับสิ่งที่เป็นกัปปิยะ; เพราะฉะนั้น จึงควร.
ในกุรุนทีแก้ว่า จริงอยู่ เว้นรสแห่งเมล็ดข้าวกับทั้งสิ่งที่อนุโลมเสีย
แล้ว ขึ้นชื่อว่าน้ำผลไม้อื่น ที่ไม่ควร ย่อมไม่มี น้ำผลไม้ทุกชนิดเป็นยาม
กาลิกแท้.
จีวรพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตไว้ ๖ ชนิด. จีวรอื่นอีก ๖ ชนิดที่
อนุโลมจีวรเหล่านั้น คือ ผ้าทุกุละ ผ้าแคว้นปัตตุนนะ ผ้าเมืองจีน ผ้าเมือง
แขก ผ้าสำเร็จด้วยฤทธิ์ ผ้าเทวดาให้ พระธรรมสังคาหกเถระทั้งหลายอนุญาต
แล้ว.
บรรดาผ้าเหล่านั้น ผ้าปัตตุนนะนั้น ได้แก่ ผ้าที่เกิดด้วยไหมใน
ปัตตุนประเทศ. ผ้า ๒ ชนิด เรียกตามชื่อของประเทศนั่นเอง. ผ้า ๓ ชนิด
นั้น อนุโลมผ้าไหม ผ้าทุกุละ อนุโลมผ้าป่าน นอกจากนี้ ๒ ชนิด อนุโลม
ผ้าฝ้ายหรือผ้าทุกอย่าง.
บาตรพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงห้าม ๑๑ อย่าง อนุญาต ๒ อย่าง คือ
บาตรเหล็ก บาตรดิน. ภาชนะ ๓ อย่าง คือ ภาชนะเหล็ก ภาชนะดิน ภาชนะ
ทองแดง อนุโลมแก่บาตรนั้นแล.
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 五月 10, 2023

Panyinsi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 79/159/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๑๐. สุขินทรีย์
๑๑. ทุกขินทรีย์
๑๒. โสมนัสสินทรีย์
๑๓. โทมนัสสินทรีย์
๑๔. อุเปกขินทรีย์
๑๕. สัทธินอาทิผิด สระทรีย์
๑๖. วิริยินทรีย์
๑๗. สตินทรีย์
๑๘. สมาธินทรีย์
๑๙. ปัญญินทรีย์อาทิผิด
๒๐. อนัญญตัญญัสสามีตินทรีย์
๒๑. อัญญินทรีย์
๒๒. อัญญาตาวินทรีย์
การบัญญัติธรรมที่เป็นใหญ่ว่า อินทรีย์ ก็มี ๒๒ ตามจำนวนธรรม
เหล่านี้.
๖. บุคคลบัญญัติ
การบัญญัติจำพวกบุคคลของบุคคลทั้งหลาย มีเท่าไร

เอกกมาติกา
[๗] บุคคล ๑ จำพวก
๑. บุคคลผู้พ้นแล้วในสมัย
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 五月 07, 2023

Doi Yo

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 17/621/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา. ด้วยเหตุดังพรรณนามานี้ ภิกษุ
ย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายในบ้าง พิจารณาเห็นธรรมในธรรม
ภายนอกบ้างพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งภายในทั้งภายนอกบ้างพิจารณา
เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อม
ในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในธรรม
บ้าง อยู่. อนึ่ง สติของเธอตั้งมั่น อยู่ว่า ธรรมมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้
เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว
และไม่ถือมั่นอะไร ๆ ในโลก ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ภิกษุชื่อ
ว่าพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคืออริยสัจ ๔ อยู่.
[ ๑๔๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขอริยสัจเป็นไฉน ?
แม้ชาติก็เป็นทุกข์ แม้ชราก็เป็นทุกข์ แม้มรณะก็เป็นทุกข์ แม้โสกะ
ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ก็เป็นทุกข์ ความประจวบกับสิ่งไม่
เป็นที่รัก ก็เป็นทุกข์ ความพลัดพรากอาทิผิด อักขระจากสิ่งที่รัก ก็เป็นทุกข์ ปรารถนา
สิ่งใดไม่ได้ แม้อันนั้นก็เป็นทุกข์ โดยย่ออาทิผิด อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นทุกข์.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ชาติเป็นไฉน ?
ความเกิด ความบังเกิด ความหยั่งลงเกิด เกิดจำเพาะ ความปรากฏ
แห่งขันธ์ ความได้อายตนะครบในหมู่สัตว์นั้น ๆ อันนี้เรียกว่าชาติ.
ก็ชราเป็นไฉน ?
ความแก่ ภาวะของความแก่ ฟันหลุด ผมหงอก หนังย่น ความ
เสื่อมแห่งอายุ ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์ในหมู่สัตว์นั้น ๆ ของเหล่าสัตว์
นั้น ๆ อันนี้เรียกว่าชรา.
ก็มรณะเป็นไฉน ?
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 五月 06, 2023

Kayasakkhi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 79/165/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ติกมาติกา
[๙] บุคคล ๓ จำพวก
๑. บุคคลผู้ไม่มีความหวัง
บุคคลผู้มีความหวัง
บุคคลผู้มีความหวังปราศไปแล้ว
๒. บุคคลเปรียบด้วยคนไข้ ๓ จำพวก
๓. บุคคลผู้ชื่อว่า กายสักขีอาทิผิด สระ
บุคคลผู้ชื่อว่า ทิฏฐิปัตตะ
บุคคลผู้ชื่อว่า สัทธาวิมุต
๔. บุคคลผู้มีวาจาเหมือนคูถ
บุคคลผู้มีวาจาเหมือนดอกไม้
บุคคลผู้มีวาจาเหมือนน้ำผึ้ง
๕. บุคคลผู้มีจิตเหมือนแผลเรื้อรัง
บุคคลผู้มีจิตเหมือนฟ้าแลบ
บุคคลผู้มีจิตเหมือนฟ้าผ่า
๖. บุคคลผู้บอด
บุคคลผู้มีตาอาทิผิด อักขระข้างเดียว
บุคคลผู้มีตาสองข้าง
๗. บุคคลผู้มีปัญญาดังหม้อคว่ำ
บุคคลผู้มีปัญญาดังหน้าตัก
บุคคลผู้มีปัญญามาก
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 五月 05, 2023

Thi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/176/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
หลายบทว่า จิตฺตานิ นมนฺติ นิเวสนานิ มาเปตุํ มีความว่า ได้
ยินว่า เทวดาเหล่านั้น สิงในสรีระของชนทั้งหลาย ผู้รู้ทำนายอาทิผิด สระชัยภูมิ แล้ว
น้อมจิตไปอย่างนั้น.
ถามว่า เพราะเหตุไร ?
แก้ว่า เพราะเทวดาทั้งหลายนั้น จักกระทำสักการะตามสมควรแก่เรา
ทั้งหลาย.
บทว่า ตาวตึเสหิ มีความว่า ได้ยินว่า เสียงที่ว่า บัณฑิตทั้งหลาย
ชาวดาวดึงส์ หมายเอาท้าวสักกเทวราชและพระวิสสุกรรมเฟื่องฟุ้งไปโนโลก
เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ตาวตึเสหิ. อธิบายว่า สุนีธอมาตย์
และวัสสการอมาตย์นั้นราวกับได้หารือเทพเจ้าชาวดาวดึงส์แล้ว จึงได้สร้าง.
บทว่า ยาวตา อริยานํ อายตนํ มีความว่า ชื่อว่าสถานเป็นที่
ประชุมแห่งมนุษย์ผู้เป็นอริยะทั้งหลาย มีอยู่เท่าใด.
บทว่า ยาวตา วณิชฺชปโถ มีความว่า ชื่อว่า สถานเป็นที่ซื้อและ
ขาย ด้วยอำนาจแห่งกองสินค้าที่นำมาแล้วนั่นเทียว ของพ่อค้าทั้งหลาย มีอยู่
เท่าใด.
สองบทว่า อิทํ อคฺคนครํ มีความว่า เมืองปาฏลีบุตร ซึ่งเป็นแดน
แห่งพระอริยะ เป็นสถานแห่งการค้าขาย ของมนุษย์เหล่านั้น นี้จักเป็นเมือง
ยอด.
บทว่า ปุฏเภทนํ ได้แก่ เป็นสถานที่แก้ห่อสินค้า. มีคำอธิบายว่า
จักเป็นสถานที่อาทิผิด อาณัติกะแก้มัดสินค้าทั้งหลาย.
วินิจฉัยบทว่า อคฺคิโต วา เป็นต้น พึงทราบดังนี้:-
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 五月 01, 2023

Khong

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 63/180/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อัศจรรย์บ้าง เราจักกล่าวว่าได้เคยเห็นสัตว์เช่นนี้ เขาก็จักถามว่า สัตว์นั้น
ชื่ออะไร ถ้าเราจักตอบว่า ไม่รู้จัก เขาก็จักติเตียนเรา เพราะเหตุนั้น เราจัก
ยิงผู้นี้ทำให้ทุรพลแล้ว จึงถามเรื่อง ลำดับนั้น ในเมื่อฝูงมฤคนั้นลงดื่มน้ำแล้ว
ขึ้นก่อน พระโพธิสัตว์จึงค่อย ๆ ลงราวกะพระเถระผู้มีวัตรอันเรียนแล้ว อาบ-
น้ำระงับความกระวนกระวายแล้วขึ้นจากน้ำ นุ่งผ้าเปลือกไม้สีแดงผืนหนึ่ง ห่ม
ผืนหนึ่ง เอาหนังเสือพาดเฉวียงบ่า ยกหม้อน้ำขึ้นเช็ดน้ำแล้ววางบนบ่าซ้าย
ก็ในกาลนั้น พระราชาทรงคิดว่า บัดนี้เป็นสมัยที่จะยิง จึงยกลูกศรอาบยาพิษ
นั้นขึ้นยิงพระโพธิสัตว์ถูกข้างขวาทะลุออกข้างซ้าย ฝูงมฤครู้ว่าพระมหาสัตว์
ถูกยิง ตกใจกลัวหนีไป ฝ่ายสุวรรณสามบัณฑิตแม้ถูกยิง ก็ประคองหม้อน้ำ
ไว้โดยปกติ ตั้งสติค่อย ๆ วางหม้อน้ำลง คุ้ยเกลี่ยทรายตั้งหม้อน้ำ กำหนดทิศ
หันศีรษะไปทางทิศาภาคเป็นที่อยู่ของอาทิผิด บิดามารดา เป็นดุจสุวรรณปฏิมานอน
บนทรายมีพรรณดังแผ่นเงิน ตั้งสติกล่าวว่า ชื่อว่าบุคคลผู้มีเวรของเราใน
หิมวัน ประเทศนี้ย่อมไม่มี บุคคลผู้มีเวรของบิดามารดาของเราก็ไม่มี
กล่าวดังนี้แล้วถ่มโลหิตในปาก ไม่เห็นพระราชาเลย เมื่อจะถามจึงกล่าวคาถา
ที่หนึ่งว่า
ใครหนอใช้ลูกศรยิงอาทิผิด อาณัติกะเราผู้ประมาทกำลังแบก
หม้อน้ำ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ คนไหนยิงอาทิผิด อาณัติกะเรา
ซ่อนกายอยู่.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปมตฺตํ ความว่า ผู้ไม่ตั้งสติในการ
เจริญเมตตา ก็คำนี้พระโพธิสัตว์กล่าวหมายเนื้อความว่า ได้กระทำตนอาทิผิด อักขระเป็นผู้
ประมาทในขณะนั้น. บทว่า วิทฺธา ความว่า ยิงแล้วซ่อนกายอยู่ในที่นี้
ชนชื่อไรหนอ เป็นกษัตริย์ หรือพราหมณ์ หรือแพศย์ ใช้ลูกศรอาบยาพิษ
 
พระปิฎกธรรม