Doi Yo
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 17/621/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา. ด้วยเหตุดังพรรณนามานี้ ภิกษุ
ย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายในบ้าง พิจารณาเห็นธรรมในธรรม
ภายนอกบ้างพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งภายในทั้งภายนอกบ้างพิจารณา
เห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อม
ในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในธรรม
บ้าง อยู่. อนึ่ง สติของเธอตั้งมั่น อยู่ว่า ธรรมมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้
เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว
และไม่ถือมั่นอะไร ๆ ในโลก ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ภิกษุชื่อ
ว่าพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคืออริยสัจ ๔ อยู่.
[ ๑๔๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขอริยสัจเป็นไฉน ?
แม้ชาติก็เป็นทุกข์ แม้ชราก็เป็นทุกข์ แม้มรณะก็เป็นทุกข์ แม้โสกะ
ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ก็เป็นทุกข์ ความประจวบกับสิ่งไม่
เป็นที่รัก ก็เป็นทุกข์ ความพลัดพรากอาทิผิด อักขระจากสิ่งที่รัก ก็เป็นทุกข์ ปรารถนา
สิ่งใดไม่ได้ แม้อันนั้นก็เป็นทุกข์ โดยย่ออาทิผิด อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นทุกข์.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ชาติเป็นไฉน ?
ความเกิด ความบังเกิด ความหยั่งลงเกิด เกิดจำเพาะ ความปรากฏ
แห่งขันธ์ ความได้อายตนะครบในหมู่สัตว์นั้น ๆ อันนี้เรียกว่าชาติ.
ก็ชราเป็นไฉน ?
ความแก่ ภาวะของความแก่ ฟันหลุด ผมหงอก หนังย่น ความ
เสื่อมแห่งอายุ ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์ในหมู่สัตว์นั้น ๆ ของเหล่าสัตว์
นั้น ๆ อันนี้เรียกว่าชรา.
ก็มรณะเป็นไฉน ?
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论