Thutthunlabat
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 32/180/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อรรถกถาอนาปัตติวรรคที่ ๑๒
ก็ในอนาปัตติวรรคที่ ๑๒ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้ :-
ในคำว่า อนาปตฺตึ อาปตฺติ เป็นต้น อนาบัติที่ท่านกล่าวไว้
ในที่นั้น ๆ ว่า ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุ ผู้ไม่รู้อยู่ ไม่มีไถยจิต ไม่ประสงค์
จะให้ตาย ไม่ประสงค์จะอวด ไม่ประสงค์จะปล่อย (สุกกะ) ดังนี้
ชื่อว่าอนาบัติ. อาบัติที่ท่านกล่าวไว้โดยนัยมีอาทิว่า เป็นอาบัติแก่
ภิกษุ ผู้รู้อยู่ ผู้มีไถยจิต ดังนี้ ชื่อว่า อาบัติ. อาบัติ ๕ กอง ชื่อว่า
ลหุกาบัติ (อาบัติเบา) อาบัติ ๒ กอง ชื่อว่า ครุกาบัติ (อาบัติหนัก)
อาบัติ ๒ กอง ชื่อทุฏฐุลลาบัติอาทิผิด อักขระ (อาบัติชั่วหยาบ) อาบัติ ๕ กอง ชื่อว่า
อทุฏฐุลลาบัติอาทิผิด สระ (อาบัติไม่ชั่วหยาบ) อาบัติ ๖ กอง ชื่อว่า สาวเสสาบัติ
(อาบัติที่ไม่มีส่วนเหลือ) อาบัติปาราชิก ๑ กอง ชื่อว่า อนาวเสสาบัติ
(อาบัติที่ไม่มีส่วนเหลือ) อาบัติที่มีส่วนเหลือนั่นแหละ ชื่อว่า อาบัติ
ที่ทำคืนได้ อาบัติที่ไม่มีส่วนเหลือนั่นแหละ ชื่อว่าอาบัติที่ทำคืนไม่ได้.
คำที่เหลือ ในที่ทั้งปวง มีอรรถง่ายทั้งนั้น.
จบ อรรถกถาอนาปัตติวรรคที่ ๑๒
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论