星期四, 八月 03, 2023

Lup

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 13/123/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บริบูรณ์แม้ทั้งสองดุจคางเบื้องล่างของราชสีห์ เป็นเช่นกับอาทิผิด อักขระพระจันทร์ในวันขึ้น
๑๒ ค่ำ. ลำดับนั้น พราหมณ์ผู้พยากรณ์ทั้งหลายมองดูปลายพระหนุสังเกตว่าที่
พระหนุเหล่านี้ พระทนต์ ๔๐ องค์คือ ข้างล่าง ๒๐ ข้างบน ๒๐ จักตั้งอยู่
เสมอกันไม่ห่าง จึงกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้ประเสริฐ พระกุมารนี้มีพระทนต์
๔๐ องค์ พระเจ้าข้า ดังนี้เป็นต้น. ในบทนั้นมีอธิบายดังต่อไปนี้. คนเหล่าอื่น
แม้มีฟันครบบริบูรณ์ก็มี ๓๒ ซี่. แต่พระกุมารนี้จักมี ๔๐ องค์ อนึ่ง ของคน
เหล่าอื่น ฟันบางซี่สูง บางซี่อาทิผิด อาณัติกะต่ำ บางซี่ไม่เสมอกัน. แต่ของพระกุมารนี้จักเสมอ
กันดุจเครื่องหุ้มสังข์ที่ช่างเหล็กตัดฉะนั้น. ฟันของพวกคนอื่นห่างเหมือนฟัน
จรเข้ เมื่อเคี้ยวปลาและเนื้อย่อมเต็มระหว่างฟันหมด. แต่พระทนต์ของพระกุมาร
นี้ จักไม่ห่างดุจแถวแก้ววิเชียรที่เขาตั้งไว้บนแผ่นกระดานทอง จักเป็นดุจตอน
ที่เขาแสดงด้วยดินสอสี อนึ่ง ฟันของคนพวกอื่น เป็นฟันเสียขึ้น เพราะเหตุนั้น
เขี้ยวบางซี่ดำบ้าง ไม่มีสีบ้าง. แต่พระกุมารนี้ มีพระทาฒะขาวสะอาด จักเป็น
พระทาฒะประกอบด้วยรัศมีรุ่งเรืองยิ่งกว่าแม้ดาวประกายพฤกษ์.
บทว่า ปหุตชิวฺโห คือพระกุมารมีพระชิวหาใหญ่. อธิบายว่า ลิ้นของ
คนเหล่าอื่น หนาบ้าง เล็กบ้าง สั้นบ้าง กระด้างบ้าง ไม่เสมอบ้าง. แต่พระชิวหา
ของพระมหาบุรุษ อ่อน ยาว ใหญ่ สมบูรณ์ด้วยสี. พระกุมารนั้นเพื่อปลดเปลื้อง
ความสงสัยของผู้ที่มาเพื่อแสวงหาลักษณะนั้น เพราะพระชิวหาอ่อนจึงทรงแลบ
พระชิวหานั้นดุจของแข็งที่สะอาดแล้วลูบช่องพระนาสิกทั้งสองได้ เพราะพระ-
ชิวหายาวจึงทรงลูบอาทิผิด สระช่องพระกรรณทั้งสองได้ เพราะพระชิวหาใหญ่จึงทรงปิด
พระนลาฏแม้ทั้งสิ้นถึงสุดปลายพระเกษา ทรงประกาศความที่พระชิวหานั้น
อ่อน ยาว และใหญ่อย่างนี้ จึงทรงปลดเปลื้องความสงสัยของพราหมณ์ผู้พยากรณ์
เหล่านั้นได้. บทว่า ปหุตชิโวฺห ท่านกล่าวหมายถึงพระชิวหาที่สมบูรณ์ด้วย
ลักษณะทั้ง ๓ อย่างนี้.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: