星期四, 八月 10, 2023

Nak lada

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 24/384/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อิจฺฉาคตํ แปลว่า ความอยากได้นั่นเอง. เทพบุตรแสดงความไม่ชักช้าด้วย
บทว่า อญฺญเตฺรว ได้ยินว่า โรหิตัสสฤษีนั้น ในเวลาไปภิกขาจาร เคี้ยว
ไม้ชำระฟัน ชื่อนาคอาทิผิด ลดาแล้วบ้วนปากที่สระอโนดาด ถึงอุตตรกุรุทวีปแล้วออก
หาอาหาร นั่งที่ขอบอาทิผิด อักขระปากจักรวาล ฉันอาหาร ณ ที่นั้น พักชั่วครู่ก็เหาะไปเร็วอีก.
บทว่า วสฺสสตายุโก ได้แก่ ยุคนั้น เป็นยุคที่มนุษย์มีอายุยืน. แต่โรหิตัสสฤษี
นี้ เริ่มเดินทางเมื่ออายุเหลือ ๑๐๐ ปี. บทว่า วสฺสสตชีวี ได้แก่เป็นอยู่
โดยไม่มีอันตรายตลอด ๑๐๐ ปีนั้น. บทว่า อนฺตราว กาลกโต ได้แก่ยัง
ไม่ทันถึงที่สุดโลกจักรวาลก็ตายเสียในระหว่าง ก็โรหิตตัสสฤษีนั้นแม้ทำกาละใน
ภพนั้น ก็มาบังเกิดในจักรวาลนี้นี่แล. บทว่า อปฺปตฺวา ได้แก่ ยังไม่ถึงที่
สุดแห่งสังขารโลก. บทว่า ทุกฺขสฺส ได้แก่ วัฏทุกข์. บทว่า อนฺตกิริยํ
ได้แก่ การทำที่สุด. บทว่า กเฬวเร ได้แก่ ในอัตภาพ. บทว่า สสญฺญมฺหิ
สมนเก ได้แก่มีสัญญา มีจิต. บทว่า โลกํ ได้แก่ทุกขสัจ. บทว่า โลกสมุทยํ
ได้แก่ สมุทัยสัจ. บทว่า โลกนิโรธํ ได้แก่ นิโรธสัจ. บทว่า ปฏิปทํ
ได้แก่ มรรคสัจ ด้วยประการฉะนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงว่า ดูก่อน
ผู้มีอายุ เราไม่บัญญัติสัจจะ ๔ นี้ลงในหญ้าและไม้เป็นต้น แต่เราบัญญัติลงใน
กายที่ประกอบด้วยมหาภูตรูป ๔ นี้เท่านั้น. บทว่า สมิตาวี ได้แก่สงบบาป.
บทว่า นาสึสติ ได้แก่ ไม่ปรารถนา.
จบอรรถกถาโรหิตัสสสูตรที่ ๖
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: