星期三, 八月 30, 2023

Yai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 28/10/4  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๙. อตีตานาคตปัจจุปันนานัตตสูตร
ว่าด้วยความเป็นอนัตตาแห่งอายตนะภายในทั้งสามกาล
[ ๙ ] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุที่เป็นอดีตและอนาคต เป็นอนัตตา
จะกล่าวไปไยอาทิผิด สระถึงจักษุที่เป็นปัจจุบันเล่า อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่
อย่างนี้ ย่อมไม่มีเยื่อใยในจักษุที่เป็นอดีต ไม่เพลิดเพลินจักษุที่เป็นอนาคต
ย่อมปฏิบัติเพื่อเบื่ออาทิผิด อักขระหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับซึ่งจักษุที่เป็นปัจจุบัน
หู จมูก ลิ้น กาย ใจที่เป็นอดีตและอนาคต เป็นอนัตตา จะกล่าวไปใย
ถึงใจที่เป็นปัจจุบันเล่า อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมไม่มี
เยื่อใยในใจที่เป็นอดีต ไม่เพลิดเพลินใจที่เป็นอนาคต ย่อมปฏิบัติเพื่อเบื่อ
หน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับซึ่งใจที่เป็นปัจจุบัน.
จบ อตีตานาคตปัจจุปันนานัตตสูตรที่ ๙

๑๐. พาหิรสูตร
ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งอายตนะภายนอกทั้งสามกาล
[ ๑๐ ] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย รูปที่เป็นอดีตและอนาคต เป็นของ
ไม่เที่ยง จะกล่าวไปไยอาทิผิด สระถึงรูปที่เป็นปัจจุบันเล่า อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว
เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมไม่มีเยื่อใยในรูปที่เป็นอดีต ย่อมไม่เพลิดเพลินในรูป
ที่เป็นอนาคต ย่อมปฏิบัติเพื่อเบื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับซึ่งรูป
ที่เป็นปัจจุบัน เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ที่เป็นอดีต
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: