turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 7/291/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ออกมา ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จพระพุทธดำเนินไปตามเสนาสนะ
ทอดพระเนตรเห็นภิกษุเหล่านั้นกำลังเอาน้ำชุบ ๆ ผ้านั้นแล้วค่อยอาทิผิด อักขระ ๆ ดึงออกมา
ครั้นแล้ว จึงเสด็จพระพุทธดำเนินเข้าไปทางภิกษุเหล่านั้น ได้ตรัสว่า ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้อาพาธเป็นโรคอะไร ?
ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ท่านรูปนี้อาพาธเป็นโรค
ฝีดาดหรืออีสุกอีใส ผ้ากรังอยู่ที่ตัว เพราะน้ำหนอง พวกข้าพระพุทธเจ้าเอา
น้ำชุบ ๆ ผ้าเหล่านั้นแล้วค่อย ๆ ดึงออกไป.
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็น
เค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตผ้าปิดฝีแก่ภิกษุที่อาพาธ เป็นฝีก็ดี เป็นพุพองก็ดี
เป็นสิวก็ดี เป็นโรคฝีดาด หรือ อีสุกอีใสก็ดี.
พระพุทธานุญาต ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดปาก
[๑๕๘] ครั้งนั้น นางวิสาขา มิคารมาตา ถือผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดอาทิผิด อักขระปาก
เข้าไปในพุทธสำนัก ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้าง
หนึ่ง ได้กราบทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า พระพุทธเจ้าข้าอาทิผิด สระ ขอพระผู้มี
พระภาคเจ้าจงทรงพระกรุณาโปรดรับผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดปากของหม่อมฉัน ซึ่ง
จะเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่หม่อมฉันอาทิผิด อักขระ ตลอดกาลนานด้วยเถิด.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับผ้าเช็ดอาทิผิด อักขระหน้า ผ้าเช็ดปาก ครั้นแล้วได้ทรง
ชี้แจง ให้นางวิสาขา มิคารมาตา เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วย
ธรรมีกถา ครั้นนางวิสาขา มิคารมาตา อันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงชี้แจงให้เห็นแจ้ง
สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้ว ลุกจากที่นั่งถวายบังคมพระผู้มี
พระภาคเจ้า ทำประทักษิณกลับไป.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 8/295/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คำขอมูลายปฏิกัสสนา
ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้าต้องอาบัติตัวหนึ่ง ชื่อสัญ-
เจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดบังไว้ ๕ วันกะสงฆ์ ข้าพเจ้านั้น
ขอปริวาส ๕ วัน เพื่ออาบัติตัวหนึ่ง ชื่ออาทิผิด สัญเจตนิกา-
สุกกวิสัฏฐิ ปิดบังไว้ ๕ วันกะสงฆ์ได้ให้ปริวาส ๕ วัน
เพื่ออาบัติตัวหนึ่ง ชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดบังไว้
๕ วัน แก่ข้าพเจ้านั้น ข้าพเจ้านั้น กำลังอยู่ปริวาส
ได้ต้องอาบัติตัวหนึ่งในระหว่าง ชื่อสัญเจตนิกาสุกก-
วิสัฏฐิ ไม่ได้ปิดบังไว้ ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้านั้นขอ
การชักเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติตัวหนึ่งในระหว่าง
ชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ไม่ได้ปิดบังไว้กะสงฆ์
พึงขอแม้ครั้งที่สอง พึงขอแม้ครั้งที่สาม.
[๓๙๗] ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วย
ญัตติจตุตถกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
กรรมวาจามูลายปฏิกัสสนา
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุอุทายีนี้
ต้องอาบัติตัวหนึ่ง ชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดบังไว้
๕ วัน เธอขอปริวาส ๕ วัน เพื่ออาบัติตัวหนึ่ง ชื่อ
สัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดบังไว้ ๕ วันกะสงฆ์ สงฆ์ได้
ให้ปริวาส ๕ วัน เพื่ออาบัติตัวหนึ่ง ชื่อสัญเจตนิกา-
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 23/272/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[๖๐๔] ดูก่อนอานนท์ สมณะหรือพราหมณ์บางคนในโลกนี้ อาศัย
ความเพียรเครื่องเผากิเลส ความตั้งใจมั่น ความประกอบเนือง ๆ ความไม่
ประมาท ความใส่ใจโดยชอบ ย่อมถูกต้องเจโตสมาธิมีรูปทำนองที่เมื่อจิตตั้งมั่น
แล้ว ย่อมเล็งเห็นบุคคลโน้น ผู้มักทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วง มักถือเอาสิ่งของที่
เจ้าของมิได้ให้ มักประพฤติผิดในกาม มักพูดส่อเสียด มักพูดคำหยาบ มัก
เจรจาเพ้อเจ้อ มากด้วยอภิชฌา มีจิตพยาบาท มีความเห็นผิดในโลกนี้ และ
เล็งเห็นผู้นั้นตายไปแล้ว เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรกได้ ด้วยจักษุเพียง
ดังทิพย์ อันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ สมณะหรือพราหมณ์นั้นจึงกล่าว
อย่างนี้ว่า ท่านผู้เจริญ เป็นอันว่ากรรมชั่วมี วิบากของทุจริตมี ข้าพเจ้าได้
เห็นบุคคลโน้น ผู้มักทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วง ฯลฯ มีความเห็นผิดในโลกนี้ และ
ผู้นั้นตายไป เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ข้าพเจ้าก็เห็น แล้ว กล่าวต่อ
ไปอย่างนี้ว่า ท่านผู้เจริญ เป็นอันว่า ผู้ใดมักทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วง ฯลฯ มี
ความเห็นผิด ผู้นั้นทุกคนตายไปแล้วย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก.
ชนเหล่าใดรู้อย่างนี้ ชนเหล่านั้น ชื่อว่ารู้ชอบ ชนเหล่าใดรู้โดยประการอื่น ความ.
รู้ของชนเหล่านั้นผิด. สมณะหรือพราหมณ์นั้นจะพูดปักลงไปถึงเรื่องที่เขารู้เอง
เห็นเอง ทราบเอง โดยประการนั้นแหละ. ในที่นั้น ๆ ตามกำลังและความแน่
ใจว่า นี้เท่านั้นจริง อื่นเปล่า.
[๖๐๕] ดูก่อนอานนท์ ส่วนสมณะหรือพราหมณ์บางคนในโลกนี้
อาศัยความเพียรเครื่องเผากิเลส ความตั้งใจมั่น ความประกอบเนือง ๆ ความ
ไม่ประมาท ความใส่ใจโดยชอบ ย่อมถูกต้องเจโตสมาธิมีอาทิผิด รูปทำนองที่เมื่อจิต
ตั้งมั่นแล้ว ย่อมเล็งเห็นบุคคลโน้น ผู้มักทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วง ฯลฯ มีความ
เห็นผิดในโลกนี้ และเล็งเห็นผู้นั้นตายไปแล้ว เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ได้ ด้วย
จักษุเพียงดังทิพย์ อันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ สมณะหรือพราหมณ์นั้น
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 84/400/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อิตถินทริยมูละ ปัญญินทริยมูลี:-
[๖๙๗] อิตถินทรีย์ไม่ใช่กำลังเกิดแก่บุคคลใดในภูมิใด, ปัญ-
ญินทรีย์ก็ไม่ใช่กำลังเกิดแก่บุคคลนั้นในภูมินั้น ใช่ไหม ?
บุคคลที่อิตถีภาวะเกิดไม่ได้ แต่เป็นญาณสัมปยุตตจิตกำลังเกิด
อยู่ อิตถินทรีย์ไม่ใช่กำลังเกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น แต่ปัญญิน-
ทรีย์กำลังเกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น, บุคคลทั้งหมดกำลังตายก็ดี
บุคคลที่อิตถีภาวะเกิดไม่ได้ และเป็นญาณวิปปยุตตจิตกำลังเกิดอยู่ก็ดี
อิตถินทรีย์ไม่ใช่กำลังเกิด และปัญญินทรีย์ก็ไม่ใช่กำลังเกิดแก่บุคคล
เหล่านั้นในภูมินั้น.
ก็หรือว่า ปัญญินทรีย์ไม่ใช่กำลังเกิดแก่บุคคลใดในภูมิใด, อิต-
ถินทรีย์ก็ไม่ใช่กำลังเกิดแก่บุคคลนั้นในภูมินั้น ใช่ไหม ?
บุคคลที่เป็นญาณวิปปยุตตจิตมีอิตถีภาวะเกิดได้กำลังเกิดอยู่ ปัญ-
ญินทรีย์ไม่ใช่กำลังเกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น แต่อิตถินทรีย์กำลัง
เกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น, บุคคลทั้งหมดกำลังตายก็ดี บุคคลที่
เป็นญาณวิปปยุตตจิต และอิตถินภาวะก็เกิดไม่ได้กำลังเกิดอยู่ก็ดี ปัญญิน-
ทรีย์ไม่ใช่กำลังเกิด และเกิดอิตถินทรีย์อาทิผิด ก็ไม่ใช่กำลังเกิดแก่บุคคลเหล่านั้นใน
ภูมินั้น.
จบ อิตถินทริยมูละ ปัญญินทริยมูลี
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 59/179/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ขออาทิผิด อักขระสิ่งใด ๆ เขาก็เป็นผู้เหมาะคือสมควรแก่สิ่งนั้น ๆ อธิบายว่า ให้อยู่ทุก
สิ่งที่ชนเหล่านั้นขอแล้ว ขอแล้ว. บทว่า สุตฺวาน เทวินฺท สุภาสิตานิ
ความว่า พระราชาทูลว่า ข้าพระองค์ฟังสุภาษิตของพระองค์แล้ว จัก
เป็นคนแบบนี้.
ก็แหละ พระราชาครั้นตรัสอย่างนี้ ก็เสด็จลงจากปราสาท ทรง
ไหว้พระปัจเจกพุทธเจ้า แล้วได้ประทับยืน ณ ที่สมควรข้างหนึ่ง. พระ-
ปัจเจกพุทธเจ้า ทรงนั่งคู้บัลลังก์ที่อากาศ แล้วทรงโอวาทพระราชาว่า
ขอถวายพระพรมหาบพิตร วิชาธรนั้นไม่ใช่สมณะ ต่อแต่นี้ไปขอ
พระองค์จงทรงทราบไว้ว่าโลกไม่ว่างเปล่า ยังมีสมณะพราหมณ์ผู้ทรงศีล
อยู่แล้วทรงอวยทาน ทรงศีล ทรงอุโบสถกรรมเถิด ฝ่ายท้าวสักกะอาทิผิด สระ
ประทับยืนอยู่ที่อากาศ ด้วยอานุภาพของท้าวสักกะประทานโอวาทแก่
ทวยนครว่า ต่อแต่นี้ไปสูเจ้าทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่ประมาทเถิด แล้วทรง
ให้ตีกลองป่าวประกาศว่า สมณพราหมณ์ทั้งหลายผู้หนีไปแล้ว จงกลับ
มา. จึงท่านทั้ง ๒ คือท้าวสักกะและพระปัจเจกพุทธเจ้า ได้เสด็จไปยังที่
ของตน. พระราชาทรงตั้งอยู่ในอาทิผิด สระเทวโอวาทของท้าวสักกะนั้น แล้วได้
ทรงทำบุญทั้งหลายมีทานเป็นต้น.
พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุม
ชาดกไว้ว่า. พระปัจเจกพุทธเจ้า ครั้งนั้นได้ปรินิพพานแล้ว พระราชา
ได้แก่พระอานนท์ ส่วนท้าวสักกะ ได้แก่เราตถาคต ฉะนั้นแล.
จบ อรรถกถาปัพพชิตวิเหฐกชาดกที่ ๖
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 65/418/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เป็นวัตรแต่ไม่เป็นศีล เป็นไฉน ? ธุดงค์ ๘ คือ อารัญญิกังค-
ธุดงค์ ปิณฑปาติกังคธุดงค์ ปังสุกูลิกังคธุดงค์ เตจีวริกังคธุดงค์ สปทาน-
จาริกังคธุดงค์ ขลุปัจฉาภัตติกังคธุดงค์ เนสัชชิกังคธุดงค์ ยถาสันถติกังค-
ธุดงค์ นี้เรียกว่า เป็นวัตรแต่ไม่เป็นศีล.
แม้การสมาทานความเพียร ก็เรียกว่า เป็นวัตรแต่ไม่เป็นศีล.
กล่าวว่า พระมหาสัตว์ทรงประคองตั้งพระทัยว่า จะอาทิผิด สระเหลืออยู่แต่หนัง เอ็น
และกระดูก ก็ตามที เนื้อและเลือด ในสรีระจงเหือดแห้งไปเถิด อิฐผล
ใดอัน จะพึงบรรลุด้วยเรี่ยวแรงของบุรุษ ด้วยกำลังของบุรุษ ด้วยความ
เพียรของบุรุษ ด้วยความบากบั่นอาทิผิด อักขระของบุรุษ ไม่บรรลุอิฐผลนั้นแล้วจักไม่
หยุดความเพียร ดังนี้. แม้การสมาทานความเพียรเห็นปานนี้ ก็เรียกว่า เป็น
วัตรแต่ไม่เป็นศีล.
พระมหาสัตว์ทรงประคองตั้งพระทัยว่า จิตของเราจักยังไม่หลุดพ้น
จากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่นเพียงใด เราจักไม่ทำลายบัลลังก์อาทิผิด อักขระนี้เพียง
นั้น แม้การสมาทานความเพียรเห็นปานนี้ ก็เรียกว่า เป็นวัตรแต่ไม่
เป็นศีล.
ภิกษุประคองตั้งจิตว่า :-
เมื่อลูกศรคือตัณหาอันเรายังถอนไม่ได้แล้ว เราจัก
ไม่กิน เราจักไม่ดื่ม ไม่ออกจากวิหาร ทั้งจักไม่เอนข้าง
ดังนี้.
แม้การสมาทานความเพียรเห็นปานนี้ ก็เรียกว่า เป็นวัตรแต่ไม่
เป็นศีล.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 66/335/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เสพการทายเสียงสัตว์ร้อง การปรุงยาให้ตั้งครรภ์ และ
การรักษาโรค.
ว่าด้วยการทำอาถรรพณ์
[๗๕๕] คำว่า ภิกษุผู้นับถือ ไม่พึงประกอบการทำอาถรรพณ์
การทำนายฝัน การทายลักษณะ และการดูฤกษ์ ความว่า พวกคน
ที่มีมนต์ทำอาถรรพณ์ ย่อมประกอบการทำอาถรรพณ์ คือเมื่อนครถูกล้อม
หรือเมื่อสงครามตั้งประชิดกัน ย่อมทำให้เสนียดจัญไรเกิดขึ้น ให้อุปัทวะ
เกิดขึ้น ให้โรคเกิดขึ้น ให้โรคจุกเสียดเกิดขึ้น ให้โรคลงรากเกิดขึ้น
ให้โรคไข้เซื่องซึมอาทิผิด เกิดขึ้น ให้โรคบิดเกิดขึ้น ในพวกข้าศึกที่เป็นศัตรูกัน
พวกชนที่มีมนต์ทำอาถรรพณ์ ย่อมประกอบการทำอาถรรพณ์อย่างนี้.
ว่าด้วยการทำนายฝัน
พวกชนที่ทำนายฝัน ย่อมทำนายฝันว่า คนฝันเวลาเช้า จะมีผล
อย่างนี้ คนฝันเวลาเที่ยง จะมีผลอย่างนี้. คนฝันเวลาเย็น จะมีผลอย่างนี้
คนฝันยามต้น จะมีผลอย่างนี้ คนฝันยามกลาง จะมีผลอย่างนี้ คนฝัน
ยามหลัง จะมีผลอย่างนี้ คนนอนข้างขวาฝัน จะมีผลอย่างนี้ คนนอน
ข้างซ้ายฝัน จะมีผลอย่างนี้ คนนอนหงายฝัน จะมีผลอย่างนี้ คนนอน
คว่ำฝัน จะมีผลอย่างนี้ คนฝันเห็นพระจันทร์ จะมีผลอย่างนี้ คนฝัน
เห็นพระอาทิตย์ จะมีผลอย่างนี้ ฝันเห็นมหาอาทิผิด อักขระสมุทร จะมีผลอย่างนี้
ฝันเห็นขุนเขาสิเนรุราช จะมีผลอย่างนี้ ฝันเห็นช้าง จะมีผลอย่างนี้
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 55/343/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
นั้นก็ดับไป เหมือนคบไฟที่เขาจุ่มลงในน้ำฉะนั้น ไม่อาจท่วมทับที่ประมาณ
๓๒ กรีส โดยการแลบเข้าไป. ภิกษุทั้งหลายพากันกล่าวคุณของพระศาสดาว่า
น่าอัศจรรย์ ชื่อว่าพระคุณของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ก็ชื่อว่า ไฟนี้ไม่มีจิตใจ
ยังไม่อาจท่วมทับที่ที่พระพุทธเจ้าประทับ ยืน ย่อมดับไป เหมือนคบเพลิงหญ้า
ดับด้วยน้ำฉะนั้น น่าอัศจรรย์ ชื่อว่าอานุภาพของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย. พระ
ศาสดาได้ทรงสดับถ้อยคำของภิกษุเหล่านั้นแล้วตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ข้อที่ไฟนี้ถึงภูมิประเทศนี้แล้วดับไป เป็นกำลังของเราในบัดนี้เท่านั้น หามิได้
ก็ข้อนี้เป็นกำลังแห่งสัจจะอันมีในก่อนของเรา ด้วยว่าในประเทศที่นี้ ไฟจัก
ไม่ลุกโพลงตลอดกัปนี้ แม้ทั้งสิ้น นี้ชื่อว่าปาฏิหาริย์ตั้งอยู่ตลอดกัป. ลำดับนั้น
ท่านพระอานนท์ปูลาดสังฆาฏิ ๔ ชั้น เพื่อต้องการเป็นที่ประทับนั่งของพระ-
ศาสดา พระศาสดาประทับนั่งขัดสมาธิ ฝ่ายภิกษุสงฆ์ก็ถวายบังคมพระตถาคต
แล้วนั่งแวดล้อมอยู่. ลำดับนั้น พระศาสดาอันภิกษุทั้งหลายทูลอ้อนวอนว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เรื่องนี้ปรากฏแล้วแก่ข้าพระองค์ทั้งหลายก่อน ส่วน
เรื่องอดีตยังลี้ลับอาทิผิด ขอพระองค์โปรดกระทำเรื่องอดีตนั้น ให้ปรากฏแก่ข้าพระองค์
ทั้งหลาย จึงทรงนำเรื่องอดีตมา ดังต่อไปนี้
ในอดีตกาล ในประเทศนั้นนั่นแหละในแคว้นมคธ พระโพธิสัตว์ถือ
ปฏิสนธิในกำเนิดนกคุ่ม เกิดจากท้องอาทิผิด อักขระมารดา ในเวลาทำลายกะเปาะฟอง
ไข่ออกมา ได้เป็นลูกนกคุ่มมีตัวประมาณเท่าดุมเกวียนบรรทุกสินค้าขนาด
ใหญ่. ลำดับนั้น บิดามารดาให้พระโพธิสัตว์นั้นนอนในรัง แล้วนำอาหาร
มาเลี้ยงดูด้วยจะงอยปาก. พระโพธิสัตว์นั้น ไม่มีกำลังที่จะเหยียดปีกออกบินไป
ในอากาศ หรือไม่มีกำลังที่จะยกเท้าเดินไปบนที่อาทิผิด อาณัติกะดอน และไฟป่าย่อมไหม้
ประเทศนั้นทุกปี ๆ. สมัยแม้นั้น ไฟป่านั้นก็ไหม้ประเทศนั้น เสียงดังลั่น.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 14/92/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
กันในจักรวาลหนึ่ง การประชุมใหญ่ก็จะมี เราควรนั่งในโอกาสที่สงัด. ลำดับ
นั้นก็รับสั่งให้ปูพุทธอาสน์ในโอกาสที่สงัดแล้วประทับนั่งลง.
พระเถระที่ไปรับกัมมัฏฐานก่อนเขาหมด สำเร็จพระอรหัตพร้อมทั้ง
ปฏิสัมภิทาทั้งหลายแล้ว. ต่อไปก็อีกรูป ถัดไปก็อีกรูป ดังนี้ก็เป็นอันว่าภิกษุทั้ง
๕๐๐ รูป เบิกบานเหมือนปทุมที่บานในสระปทุมฉะนั้น. ภิกษุที่สำเร็จพระ-
อรหัตก่อนเขาหมด คิดว่า เราจะกราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้า จึงคลายบัลลังก์
สลัดที่นั่งลุกขึ้นบ่ายหน้าไปหาพระทศพล. อีกรูปหนึ่งก็อย่างนั้น อีกรูปหนึ่งก็
อย่างนั้น ดังนี้ก็เป็นอันว่าภิกษุทั้ง ๕๐๐ รูป ทะยอยกันมาเหมือนเข้าสู่โรง
อาหารฉะนั้น. ผู้ที่มาก่อนเขาหมด ไหว้และปูที่นั่งแล้วนั่งในที่ควรส่วนหนึ่ง
เป็นผู้อยากจะกราบทูลถึงคุณพิเศษที่ได้โดยเฉพาะ คิดว่า ใครอื่นมีหรือไม่มี
หนอ กลับไปมองดูทางมาได้เห็นแม้อีกรูปหนึ่ง ได้เห็นแม้อีกรูปหนึ่ง. ด้วย
ประการฉะนี้ เป็นอันว่า ท่านทั้งหมดแม้นั้นก็มานั่งในที่ควรส่วนหนึ่งแล้วก็
ต่างคิดว่า รูปนี้กำลังละอายอาทิผิด อักขระจึงไม่บอกแก่รูปนี้ รูปนี้ก็กำลังละอายจึงไม่บอกแก่
รูปนี้ ได้ยินว่า สำหรับพวกผู้สิ้นอาสวะแล้วย่อมมีอาการสองอย่างคือ
๑. เกิดความคิดว่า ชาวโลกพร้อมกับเทวดาจะพึงรู้แจ้งแทงตลอด
คุณวิเศษที่เราได้เฉพาะแล้ว พลันทีเดียว
๒. ไม่ประสงค์จะบอกคุณที่ตนอาทิผิด อักขระได้แล้วแก่ผู้อื่น เหมือนคนที่ได้ขุม
ทรัพย์ฉะนั้น.
ก็เมื่อสักว่าวงของพระอริยเจ้านั้นหยั่งลงแล้ว พระจันทร์เต็มดวงอาทิผิด ซึ่ง
หลุดพ้นจากตัวการที่ทำให้เศร้าหมองคือ หมอก น้ำค้าง ควัน ฝุ่น ราหู จาก
ขอบเขตรอบเขายุคนธรทางทิศตะวันออก ประกอบด้วยสิริแห่งล้อเงิน ซึ่งกำลัง
จับขอบกงหมุนไป คล้ายกับวงแว่นส่องแผ่นใหญ่ที่สำเร็จด้วยเงินที่ยกขึ้นใน
ด้านทิศตะวันออก เพื่อทัศนะอันเป็นที่น่ารื่นรมย์ของโลกที่ประดับด้วยพุทธุปบาท
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 46/467/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ด้วยอสังกิเลส วิมุตติรส ชื่อว่า ยังประโยชน์ให้สำเร็จ เพราะความเป็นธรรม
อันท่านอบรมแล้วด้วยปรมัตถสัจจรส และชื่อว่าเป็นอรรถรสและธรรมรส
เพราะอาศัยอรรถและธรรมที่เป็นอุบายจะให้บรรลุปรมัตถสัจจรสนั้นเป็นไป
ดังนี้แล.
ก็ในบทนี้ว่า ปญฺญาชีวึ ผู้ศึกษาพึงเห็นเนื้อความอย่างนี้ว่า ในบุคคล
ผู้บอด ผู้มีตาข้างเดียว และผู้มีตาสองข้างทั้งหลาย บุคคลผู้มีตาสองข้างนี้ใด
เป็นคฤหัสถ์ยินดีข้อปฏิบัติสำหรับคฤหัสถ์มีการขยันทำการงาน ถึงสรณะ
จำแนกทาน สมาทานศีล และอุโบสถกรรมเป็นต้น หรือเป็นบรรพชิตยินดี
ข้อปฏิบัติสำหรับบรรพชิต กล่าวคือศีลอันทำความไม่เดือดร้อนอาทิผิด อักขระ หรืออันต่างด้วย
จิตตวิสุทธิเป็นต้นอันยิ่งกว่านั้น ชื่อว่า เป็นอยู่ด้วยปัญญา นักปราชญ์ทั้งหลาย
กล่าวชีวิตอันเป็นอยู่ด้วยปัญญาของบุคคลนั้น หรือปัญญาชีวิตของบุคคลผู้เป็น
อยู่ด้วยปัญญานั้นว่า ประเสริฐที่สุด.
ยักษ์ได้ฟังปัญหาแม้ทั้งสี่ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตอบแล้วอย่างนี้ มี
ใจเป็นของตน เมื่อจะทูลถามปัญหาทั้งสี่แม้ที่เหลือจึงกล่าวคาถาว่า กถํสุ ตรตี
โอฆํ บุคคลย่อมข้ามโอฆะได้อย่างไร. ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะ
ทรงวิสัชนาแก่ยักษ์นั้น โดยนัยมีในก่อนนั่นเทียว จึงตรัสคาถาว่า สทฺธาย
ตรตี โอฆํ บุคคลย่อมข้ามโอฆะได้ด้วยศรัทธา.
ในคาถานั้นมีอธิบายดังนี้ บุคคลใดข้ามโอฆะทั้ง ๔ อย่างได้ บุคคล
นั้นย่อมข้ามอรรณพคือ สังสารบ้าง ย่อมล่วงทุกข์ในวัฏฏะบ้าง ย่อมบริสุทธิ์
จากมลทิน คือ กิเลสบ้าง แม้ก็จริง แต่เมื่อเป็นเช่นนั้น บุคคลไม่มีศรัทธา
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 47/502/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ก็เพราะกรรมทั้งหลายท่านกล่าวโกสะ เพราะคล้ายกะเปาะฟองที่ตั้งใน
ตน ชื่อว่าเป็นผู้ฉลาดเพราะตัด คือตัดขาดกะเปาะฟองเหล่านั้นได้นั้น เมื่อ
จะทรงแสดงความนั้นจึงทรงพยากรณ์ปัญหาที่สองด้วยคาถาว่า โกสานิ กะเปาะ
ฟอง ดังนี้.
บทนั้นมีความดังนี้ ผู้ใดพิจารณากะเปาะฟอง (กรรม) ทั้งสิ้นอันได้
แก่กุศลกรรมโดยความเป็นของไม่เที่ยงเป็นต้น โดยอารมณ์และโดยกิจ ด้วย
โลกิยวิปัสสนาและโลกุตรวิปัสสนา แต่โดยความต่างกันออกไป พิจารณา
กะเปาะฟองที่เป็นของทิพย์ และกะเปาะฟองของมนุษย์ มีต่างด้วย กามาวจร-
กุศลเจตนา ๘ อันเป็นเหตุเกี่ยวข้องกัน และกะเปาะฟองของพรหมอันต่างด้วย
มหัคคตอาทิผิด อักขระกุศลเจตนา ๙ แต่นั้นหลุดพ้นจากเครื่องผูกอันเป็นรากเหง้าแห่งกะเปาะ
ฟองทั้งหมดมีประเภทคือ อวิชชาและภวตัณหาเป็นต้น ด้วยมรรคภาวนา ท่าน
กล่าวว่าเป็นผู้ฉลาด เพราะกำจัดกะเปาะฟองเหล่านั้นได้ด้วยประการฉะนี้ และ
เป็นผู้คงที่เห็นปานนั้น. อีกอย่างหนึ่ง พึงทราบภพ ๓ และอายตนะ ๑๒ ว่าเป็น
โกสะ เพราะเป็นเช่นกับฝักดาบ ด้วยอรรถว่าเป็นที่อยู่ของสัตว์และธรรมทั้ง
หลาย. ในบทนี้พึงประกอบด้วยคาถาด้วยประการฉะนี้.
อนึ่ง เพราะท่านกล่าวว่าเป็นบัณฑิตด้วยบทนี้ว่า น เกวลํ ปณฺฑติ
มิใช่ฉลาดอย่างเดียว. แต่โดยที่แท้ท่านกล่าวว่าบัณฑิตเพราะถึงคือเข้าถึงอายตนะ
ทั้งหลาย ยึดอยู่ด้วยปัญญาเป็นเครื่องค้นคว้า ฉะนั้น เมื่อจะทรงแสดงความ
นั้นจึงทรงพยากรณ์ปัญหาที่สามด้วยคาถาว่า ทุภยานิ อายตนะทั้งสอง ดังนี้.
บทนั้นมีความดังนี้ ผู้ใดพิจารณาอายตนะทั้งสองอย่างนี้คือ ทั้งภายใน
และภายนอก โดยความเป็นของไม่เที่ยงเป็นต้น. บทว่า ปณฺฑรานิ ได้แก่
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 78/427/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
จิต ย่อมพยาบาท ย่อมละปกติภาวะ ด้วยธรรมชาตินี้ เช่นกับขนม
กุมมาสบูดเป็นต้น เหตุนั้นธรรมชาตินี้ จึงชื่อว่า พยาปาทะ.
จิตใด ย่อมทำลาย หรือย่อมทำให้เสียหาย หรือย่อมพินาศไป เพราะ
ถึงการเปลี่ยนแปลง เพราะฉะนั้น จิตนั้นจึงชื่อว่า ปโทสะ (คือประทุษร้าย).
คำทั้งสองนี้ เป็นชื่อของความโกรธโดยแท้. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มี-
พระภาคเจ้า จึงตรัสว่า โย พยาปาโท โส ปโทโส โย ปโทโส โส
พยาปาโท (แปลว่า ความพยาบาทอันนั้น ชื่อว่า ความประทุษร้าย ความ
ประทุษร้ายอันนั้น ชื่อว่า ความพยาบาท) ดังนี้ ก็เพราะศัพท์นี้ ท่านยกขึ้น
แสดงแล้ว ด้วยสามารถแห่งการสงเคราะห์แก่สัตว์ทั้งปวง ฉะนั้น พระองค์
จึงไม่ตรัสว่า สพฺพปาณภูตหิตานุกมฺปี แต่ตรัสว่า อพฺยาปนฺนจิตฺโต
เพียงเท่านี้.
ความป่วยแห่งจิต ชื่อว่า ถีนะ. ความป่วยแห่งเจตสิก ชื่อว่า มิทธะ.
ถีนะด้วย มิทธะด้วย เรียกว่า ถีนมิทธะ.
สองบทว่า สนฺตา โหนฺติ (แปลว่า สงบ) ได้แก่ ธรรมทั้งสอง
คือถีนมิทธะเหล่านั้น ชื่อว่า สงบลงแล้ว เพราะความสงบลงด้วยนิโรธ. ในที่นี้
ท่านทำการแยกถ้อยคำไว้ โดยหมายเอาถีนมิทธะนี้.
คำว่า อาโลกสญฺญี (แปลว่า มีอาโลกสัญญา) ได้แก่ ผู้ประกอบ
ด้วยสัญญาอันบริสุทธิ์ ซึ่งมีนิวรณ์ไปปราศแล้วอาทิผิด อักขระ เพื่อสามารถอันจำอาโลกะ
อันตนเห็นแล้วในเวลาราตรีบ้าง ในเวลากลางวันบ้าง.
คำว่า สโต สมฺปชาโน (แปลว่า มีสติสัมปชัญญะ) ได้แก่ ผู้
ประกอบด้วยสติ และญาณ. ก็คำว่า จตฺตตฺตา (แปลว่า เพราะความที่ถีน-
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/19/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เพราะเหตุว่า ข้าพเจ้าอาศัยความเพียรเครื่องเผากิเลส อาศัยความ
เพียรที่ตั้งมั่น อาศัยการประกอบเนือง ๆ อาศัยความไม่ประมาท อาศัย
มนสิการโดยชอบแล้ว สัมผัสเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องให้จิตตั้งมั่น ระลึก
ถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้หลายประการ คือ ระลึกถึงขันธ์ที่
เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้ สังวัฏฏวิวัฏฏกัปหนึ่งบ้าง สองบ้าง สามบ้าง
สี่บ้าง ห้าบ้าง สิบบ้าง ว่ากัปโน้น เรามีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น
มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้น ๆ มี
กำหนดอายุเท่านั้น ครั้นจุติจากกัปนั้นแล้วได้ไปเกิดในกัปโน้น แม้ใน
กัปนั้นเราก็มีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหาร
อย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้น ๆ มีกำหนดอายุเท่านั้น ครั้นจุติ
จากกัปนั้นแล้ว ได้มาเกิดในกัปนี้ ย่อมระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาล
ก่อนได้หลายประการ พร้อมทั้งอาการ พร้อมทั้งอุเทศ ฉะนี้. ด้วย
การสัมผัสคุณวิเศษนี้ ข้าพเจ้าจึงรู้อาการที่อัตตาและโลกเที่ยง เป็นหมัน
ตั้งมั่นดุจยอดภูเขา ตั้งมั่นดุจเสาระเนียดที่ตั้งอาทิผิด อักขระอยู่ ส่วนสัตว์เหล่านั้นย่อม
แล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไป ย่อมจุติ ย่อมอุบัติ แต่สิ่งที่เที่ยงเสมอคงมี
อยู่แท้. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นฐานะที่ ๒ ที่สมณพราหมณ์พวก
หนึ่ง อาศัยแล้ว ปรารภแล้ว จึงมีวาทะว่าเที่ยง บัญญัติอัตตาและโลก
ว่าเที่ยง.
(๒๙) ๓. อนึ่ง ในฐานะที่ ๓ สมณพราหมณ์ผู้เจริญ อาศัย
อะไร ปรารภอะไร จึงมีวาทะว่าเที่ยง บัญญัติอัตตาและโลก ว่าเที่ยง.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมณะหรือพราหมณ์บางพวกในโลกนี้ อาศัย
ความเพียรเครื่องเผากิเลส อาศัยความเพียรที่ตั้งมั่น อาศัยการประกอบ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 75/21/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๙. อิทธิปาทวิภังค์
๑๐. โพชฌงควิภังค์
๑๑. มัคควิภังค์
๑๒. ฌานวิภังค์
๑๓. อัปปมัญญาวิภังค์
๑๔. สิกขาปทวิภังค์
๑๕. ปฏิสัมภิทาอาทิผิด อักขระวิภังค์
๑๖. ญาณวิภังค์
๑๗. ขุททกวัตถุวิภังค์
๑๘. ธรรมหทยวิภังค์
บรรดาวิภังค์เหล่านั้น ขันธวิภังค์จำแนกออกเป็น ๓ อย่าง คือ ด้วย
อำนาจแห่งสุตตันตภาชนีย์ อภิธรรมภาชนีย์ และปัญหาปุจฉกะ ขันธวิภังค์นั้น
ว่าโดยทางแห่งถ้อยคำมีประมาณ ๕ ภาณวาร แต่เมื่อให้พิสดารก็ไม่มีที่สิ้นสุด
ไม่มีประมาณ แม้อายตนวิภังค์เป็นต้น เบื้องหน้าแต่นี้ท่านก็จำแนกโดยนัยทั้ง
๓ เหล่านั้นเหมือนกัน บรรดาวิภังค์เหล่านั้น อายตนวิภังค์ ว่าโดยทางแห่ง
ถ้อยคำมีเกิน ๑ ภาณวาร ธาตุวิภังค์มีประมาณ ๒ ภาณวาร สัจจวิภังค์ก็
ประมาณ ๒ ภาณวารเหมือนกัน ในอินทรียวิภังค์ไม่มีสุตตันตภาชนีย์ ก็
อินทรียวิภังค์นั้น ว่าโดยทางแห่งถ้อยคำมีประมาณเกินหนึ่งภาณวาร ปัจจยาการ-
วิภังค์มีประมาณ ๖ ภาณวาร แต่ไม่มีปัญหาปุจฉกะ สติปัฏฐานวิภังค์มีประมาณ
เกินหนึ่งภาณวาร สัมมัปปธาน... อิทธิบาท... โพชฌงค์... และมรรค-
วิภังค์ แต่ละอาทิผิด อย่างมีเกินหนึ่งภาณวาร ฌานวิภังค์มีประมาณ ๒ ภาณวาร
อัปปมัญญาวิภังค์มีประมาณเกินหนึ่งภาณวาร ในสิกขาปทวิภังค์ไม่มีบท
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 1/11/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ประโยชน์ด้วยข้อปฏิบัติ พระผู้มีภาคพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมทรงสอบถามภิกษุ
ทั้งหลาย ด้วยอาการสองอย่าง คือ จักทรงแสดงธรรมอย่างหนึ่ง จักทรงบัญญัติ-
สิกขาอาทิผิด อักขระบทแก่พระสาวกทั้งหลายอย่างหนึ่ง.
ครั้งอาทิผิด อักขระนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามท่านพระอานนท์ว่า อานนท์
นั่นเสียงครกหรือหนอ จึงท่านพระอานนท์กราบทูลเนื้อความนั้นให้ทรงทราบ
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสสรรเสริญว่า ดีละ ดีละ อานนท์ พวกเธอเป็นสัตบุรุษ
ชนะวิเศษแล้ว พวกเพื่อนพรหมจารีชั้นหลังจักดูหมิ่นข้าวสาลีและข้าวสุกอัน
ระคนด้วยเนื้อ.
พระมหาโมคคัลลานะเปล่งสีหนาท
[๖] ครั้งนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า
ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระ-
ภาคเจ้าว่า พระพุทธเจ้าข้า บัดนี้เมืองเวรัญชามีภิกษาหารน้อย ประชาชน
หาเลี้ยงชีพฝืดเคือง มีกระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้ออาหารภิกษุสงฆ์
จะยังอัตภาพให้เป็นไป ด้วยการถือบาตรแสวงหา ก็ทำไม่ได้ง่าย พระพุทธเจ้าข้า
พื้นเบื้องล่างแห่งแผ่นดินผืนใหญ่นี้ สมบูรณ์ มีรสอันโอชา เหมือนน้ำผึ้งหวี่
ที่ไม่มีตัวอ่อนฉะนั้น ขอประทานพระวโรกาส ข้าพระพุทธเจ้าจะพึงพลิก
แผ่นดิน ภิกษุทั้งหลายจักได้ฉันง้วนดิน พระพุทธเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามว่า ดูก่อนโมคคัลลานะ ก็สัตว์ผู้อาศัย
แผ่นดินเล่า เธอจะทำอย่างไรแก่สัตว์เหล่านั้น.
ม. ข้าพระพุทธเจ้าจักนิรมิตฝ่ามือข้างอาทิผิด อักขระหนึ่งให้เป็นดุจแผ่นดินใหญ่ ยัง
สัตว์ผู้อาศัยแผ่นดินเหล่านั้นให้ไปอยู่ในฝ่ามือนั้น จักพลิกแผ่นดินด้วยมืออีก
ข้างหนึ่ง พระพุทธเจ้าข้า.
พระปิฎกธรรม