星期三, 七月 20, 2011

Bakban

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 65/418/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เป็นวัตรแต่ไม่เป็นศีล เป็นไฉน ? ธุดงค์ ๘ คือ อารัญญิกังค-
ธุดงค์ ปิณฑปาติกังคธุดงค์ ปังสุกูลิกังคธุดงค์ เตจีวริกังคธุดงค์ สปทาน-
จาริกังคธุดงค์ ขลุปัจฉาภัตติกังคธุดงค์ เนสัชชิกังคธุดงค์ ยถาสันถติกังค-
ธุดงค์ นี้เรียกว่า เป็นวัตรแต่ไม่เป็นศีล.
แม้การสมาทานความเพียร ก็เรียกว่า เป็นวัตรแต่ไม่เป็นศีล.
กล่าวว่า พระมหาสัตว์ทรงประคองตั้งพระทัยว่า จะอาทิผิด สระเหลืออยู่แต่หนัง เอ็น
และกระดูก ก็ตามที เนื้อและเลือด ในสรีระจงเหือดแห้งไปเถิด อิฐผล
ใดอัน จะพึงบรรลุด้วยเรี่ยวแรงของบุรุษ ด้วยกำลังของบุรุษ ด้วยความ
เพียรของบุรุษ ด้วยความบากบั่นอาทิผิด อักขระของบุรุษ ไม่บรรลุอิฐผลนั้นแล้วจักไม่
หยุดความเพียร ดังนี้. แม้การสมาทานความเพียรเห็นปานนี้ ก็เรียกว่า เป็น
วัตรแต่ไม่เป็นศีล.
พระมหาสัตว์ทรงประคองตั้งพระทัยว่า จิตของเราจักยังไม่หลุดพ้น
จากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่นเพียงใด เราจักไม่ทำลายบัลลังก์อาทิผิด อักขระนี้เพียง
นั้น แม้การสมาทานความเพียรเห็นปานนี้ ก็เรียกว่า เป็นวัตรแต่ไม่
เป็นศีล.
ภิกษุประคองตั้งจิตว่า :-
เมื่อลูกศรคือตัณหาอันเรายังถอนไม่ได้แล้ว เราจัก
ไม่กิน เราจักไม่ดื่ม ไม่ออกจากวิหาร ทั้งจักไม่เอนข้าง
ดังนี้.
แม้การสมาทานความเพียรเห็นปานนี้ ก็เรียกว่า เป็นวัตรแต่ไม่
เป็นศีล.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: