星期五, 七月 08, 2011

Mahakkhata

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 47/502/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ก็เพราะกรรมทั้งหลายท่านกล่าวโกสะ เพราะคล้ายกะเปาะฟองที่ตั้งใน
ตน ชื่อว่าเป็นผู้ฉลาดเพราะตัด คือตัดขาดกะเปาะฟองเหล่านั้นได้นั้น เมื่อ
จะทรงแสดงความนั้นจึงทรงพยากรณ์ปัญหาที่สองด้วยคาถาว่า โกสานิ กะเปาะ
ฟอง ดังนี้.
บทนั้นมีความดังนี้ ผู้ใดพิจารณากะเปาะฟอง (กรรม) ทั้งสิ้นอันได้
แก่กุศลกรรมโดยความเป็นของไม่เที่ยงเป็นต้น โดยอารมณ์และโดยกิจ ด้วย
โลกิยวิปัสสนาและโลกุตรวิปัสสนา แต่โดยความต่างกันออกไป พิจารณา
กะเปาะฟองที่เป็นของทิพย์ และกะเปาะฟองของมนุษย์ มีต่างด้วย กามาวจร-
กุศลเจตนา ๘ อันเป็นเหตุเกี่ยวข้องกัน และกะเปาะฟองของพรหมอันต่างด้วย
มหัคคตอาทิผิด อักขระกุศลเจตนา ๙ แต่นั้นหลุดพ้นจากเครื่องผูกอันเป็นรากเหง้าแห่งกะเปาะ
ฟองทั้งหมดมีประเภทคือ อวิชชาและภวตัณหาเป็นต้น ด้วยมรรคภาวนา ท่าน
กล่าวว่าเป็นผู้ฉลาด เพราะกำจัดกะเปาะฟองเหล่านั้นได้ด้วยประการฉะนี้ และ
เป็นผู้คงที่เห็นปานนั้น. อีกอย่างหนึ่ง พึงทราบภพ ๓ และอายตนะ ๑๒ ว่าเป็น
โกสะ เพราะเป็นเช่นกับฝักดาบ ด้วยอรรถว่าเป็นที่อยู่ของสัตว์และธรรมทั้ง
หลาย. ในบทนี้พึงประกอบด้วยคาถาด้วยประการฉะนี้.
อนึ่ง เพราะท่านกล่าวว่าเป็นบัณฑิตด้วยบทนี้ว่า น เกวลํ ปณฺฑติ
มิใช่ฉลาดอย่างเดียว. แต่โดยที่แท้ท่านกล่าวว่าบัณฑิตเพราะถึงคือเข้าถึงอายตนะ
ทั้งหลาย ยึดอยู่ด้วยปัญญาเป็นเครื่องค้นคว้า ฉะนั้น เมื่อจะทรงแสดงความ
นั้นจึงทรงพยากรณ์ปัญหาที่สามด้วยคาถาว่า ทุภยานิ อายตนะทั้งสอง ดังนี้.
บทนั้นมีความดังนี้ ผู้ใดพิจารณาอายตนะทั้งสองอย่างนี้คือ ทั้งภายใน
และภายนอก โดยความเป็นของไม่เที่ยงเป็นต้น. บทว่า ปณฺฑรานิ ได้แก่
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: