turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 40/262/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อาจทันพระยาช้างได้ จึงเสด็จขึ้นม้าติดตามไป. เมื่อท้าวเธอรีบตามไปโดย
เร็ว พลนิกายก็ล้าหลัง. พระราชาได้เป็นผู้ ( เสด็จ) พระองค์เดียว
เท่านั้น. ครั้งนั้นเหล่าบุรุษของพระเจ้าจัณฑปัชโชต ซึ่งดักซุ่มอยู่แล้ว ณ ๒
ข้าง (ทาง ) จึงจับท้าวเธอถวายพระเจ้าแผ่นดินของตน. ต่อมา พลนิกาย
ของท้าวเธอ ทราบว่า พระราชาของตนตกไปสู่อำนาจแห่งข้าศึกแล้ว
จึงตั้งค่ายอยู่ภายนอก.
พระเจ้าจัณฑปัชโชตทรงให้พระธิดาเรียนมนต์
ฝ่ายพระเจ้าจัณฑปัชโชต ทรงสั่งให้จับพระเจ้าอุเทนอย่างจับเป็น
แล้วขังไว้ในเรือนขังโจรหลังหนึ่ง ให้ปิดประตูเสีย ทรงดื่มน้ำชัยบาน
ตลอด ๓ วัน. ในวันที่ ๘ พระเจ้าอุเทนทรงถามพวกผู้คุมว่า
"พ่อทั้งหลาย พระเจ้าแผ่นดินของพวกเจ้าไปไหนเสีย."
พวกผู้คุม. พระเจ้าแผ่นดิน ทรงดื่มน้ำชัยบาน ด้วยทรงยินดีว่า
เราจับปัจจามิตรได้.
พระเจ้าอุเทน. พระเจ้าแผ่นดินของพวกเจ้ามีกิริยาช่างกระไร ดัง
ผู้หญิง, การจับพระเจ้าแผ่นดินผู้เป็นศัตรูกันได้แล้ว จะปล่อยหรือฆ่าเสีย
จึงควรมิใช่หรือ ? นี่สิ กลับให้เรานั่งทนทุกข์ แล้วไปนั่งดื่มน้ำชัยบาน
เสีย.
ผู้คุมเหล่านั้น ก็พากันไปทูลเนื้อความนั้นแด่พระราชา พระองค์
เสด็จไปตรัสถามว่า " ได้ยินว่า ท่านพูดอย่างนี้ จริงหรือ ?"
อุเทน. ถูกแล้ว ท่านมหาราชเจ้า.
จัณฑปัชโชต. ดีละ เราจักปล่อยท่าน, ทราบว่า ท่านมีมนต์
เช่นนี้, ท่านจักให้อาทิผิด มนต์นั้นแก่เราไหม ?
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 74/279/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ในอดีตกาล ในภัทรกัปนี้แหละ พระโพธิสัตว์จุติจากพรหมโลก
บังเกิดเป็นบุตรของพราหมณ์ มีสมบัติมากตระกูลหนึ่งในกาสิคามแห่งหนึ่ง.
ครั้นถึงคราวตั้งชื่อ มารดาบิดาตั้งชื่อว่า โพธิกุมาร. เมื่อโพธิกุมารเจริญวัย
เขาไปสู่เมืองตักกสิลา เรียนศิลปะทุกสาขา เมื่อเขากลับมาทั้ง ๆ ที่เขาไม่
ปรารถนา มารดาบิดาได้นำกุลสตรีที่มีชาติเสมอกันมาให้. แม้กุลสตรีนั้นก็
จุติจากพรหมโลกเหมือนกัน มีรูปงดงาม เปรียบด้วยเทพอัปสร แม้ทั้งสอง
ไม่ปรารถนา มารดาบิดาก็ทำการอาวาหมงคลและวิวาหอาทิผิด อักขระมงคลให้แก่กันและ
กัน ทั้งสองไม่เคยมีกิเลสร่วมกันเลย. แม้มองดูกันด้วยอำนาจราคะก็มิได้มี.
ไม่ต้องพูดถึงการร่วมเกี่ยวข้องกันละ. ทั้งสองมีศีลบริสุทธิ์ด้วยประการฉะนี้.
ครั้นต่อมา เมื่อมารดาบิดาถึงแก่กรรม พระโพธิสัตว์กระทำฌาปนกิจ
มารดาบิดาแล้วจึงเรียกภริยามากล่าวว่า นางผู้เจริญ แม่นางจงครองทรัพย์
๘๐ โกฏิ เลี้ยงชีพให้สบายเถิด. ภริยาถามว่า ท่านผู้เจริญก็ท่านเล่า.
พระมหาสัตว์ตอบว่า เราไม่ต้องการทรัพย์ เราจักบวช. นางถามว่า ก็
การบวชไม่สมควรแม้แก่สตรีหรือ. พระโพธิสัตว์ตอบว่า ควรซิแม่นาง.
นางตอบว่า ถ้าเช่นนั้นแม้ฉันก็ไม่ต้องการทรัพย์ ฉันจักบวชบ้าง. ทั้งสอง
สละสมบัติทั้งหมดให้ทานเป็นการใหญ่ ออกจากเมืองเข้าป่าแล้วบวช เลี้ยง
ตัวด้วยผลาผลที่แสวงหามาได้อยู่ ๑๐ ปี ด้วยความสุขในการบวชนั่นเอง
เที่ยวไปตามชนบทเพื่อต้องการเสพของมีรสเค็มและเปรี้ยว ถึงกรุงพาราณสี
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 87/281/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๑๑๕๕] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๕๖] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๕๗] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจย-
คามิธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๑๕๘] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรมและ
เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๑๕๙] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๖๐] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๖๑] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจย-
คามิธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจอาทิผิด อักขระของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 88/288/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียง ด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปีธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตอาทิผิด สระปัจจัย
[๒๗๖] ๑. อรูปีธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปธรรม ด้วยอำนาจ
ของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปีธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๒๗๗] ๑. อรูปีธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปีธรรม ด้วยอำนาจ
ของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปีธรรม ที่เกิดก่อน ๆ ฯลฯ
๑๓. กัมมปัจจัย
[๒๗๘] ๑. อรูปีธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปีธรรม ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/351/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ด้วยพระดำรัสแม้ทั้งหมดนี้ พระเจ้าอชาตศัตรูได้ทรงกระทำแสง
สว่างให้เป็นนิมิต ด้วยประการฉะนี้.
ทรงกระทำแก่ใคร ? แก่หมอชีวก. เพื่ออะไร ? เพื่อเฝ้าพระผู้มี
พระภาคเจ้า. ก็พระเจ้าอชาตศัตรูไม่อาจเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าเอง
หรือ ? ถูกแล้ว ไม่อาจ. เพราะเหตุไร ? เพราะพระองค์มีความผิดมาก.
ด้วยว่า พระเจ้าอชาตศัตรูได้ปลงพระชนม์ชีพพระบิดาของ
พระองค์ผู้เป็นอุปัฏฐากอาทิผิด อักขระของพระผู้มีพระภาคเจ้าและเป็นอริยสาวก และ
พระเทวทัตก็ได้อาศัยพระเจ้าอชาตศัตรูนั้นนั่นแหละกระทำความฉิบหาย
ใหญ่แก่พระผู้มีพระภาคเจ้า. ความผิดจึงมากด้วยประการฉะนี้. ด้วย
ความที่พระองค์มีความผิดมากนั้น จึงไม่อาจเสด็จไปเฝ้าด้วยพระองค์เอง.
อนึ่ง หมอชีวก ก็เป็นอุปัฏฐากของพระผู้มีพระภาคเจ้า. พระเจ้าอชาต-
ศัตรูจึงได้ทรงกระทำแสงสว่างให้เป็นนิมิต ด้วยหมายพระทัยว่า เราจัก
เฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยเป็นเงาตามหลังหมอชีวกนั้น.
หมอชีวกรู้ว่า พระราชาทรงกระทำแสงสว่างให้เป็นนิมิตแก่ตน
หรือ ? รู้อย่างดี. เมื่อรู้เหตุไรจึงนิ่งอาทิผิด อาณัติกะเสีย ? เพื่อตัดความวุ่นวาย. ด้วยว่า
ในบริษัทนั้น มีอุปัฏฐากของครูทั้ง ๖ ประชุมกันอยู่มาก. เขาเหล่านั้น
แม้ตนเองก็ไม่ได้รับการศึกษาเลย เพราะผู้ไม่ได้รับการศึกษาอยู่ใกล้ชิด
เมื่อเราเริ่มกล่าวถึงพระคุณของพระผู้มีพระภาคเจ้า เขาเหล่านั้นก็จัก
ผลุดลุกผลุดนั่งในระหว่าง ๆ กล่าวคุณแห่งศาสดาของตน ๆ เมื่อเป็น
เช่นนี้ คุณกถาแห่งพระศาสดาของเราก็จักไม่สิ้นสุดลงได้ ฝ่ายพระราชา
ครั้นทรงพบกุลุปกะของครูทั้ง ๖ เหล่านี้แล้ว มิได้พอพระทัยในคุณกถา
ของครูทั้ง ๖ เหล่านั้น เพราะไม่มีสาระที่จะถือเอาได้ ก็จักกลับมาทรง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 73/751/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
นิคมนกถา
คำส่งท้ายเรื่อง
การพรรณนาพุทธวงศ์ อันงดงามด้วยนัยอันวิจิตร
ซึ่งผู้รู้บทพรรณนาให้ง่าย ถึงความสำเร็จด้วยกถา
เพียงเท่านี้.
ข้าพเจ้ายึดทางแห่งอรรถกถาเก่า อันประกาศ
ความแห่งบาลี เป็นหลักอย่างเดียว แต่งอรรถกถา
พุทธวงศ์
เพราะละเว้นความที่เยิ่นเย้ออาทิผิด อาณัติกะ ประกาศแต่ความ
อันไพเราะทุกประการ ฉะนั้น จึงชื่อว่า มธุรัตถวิลาสินี.
เมื่อสาธุชน ผู้มีวาจาไพเราะ ชื่อกัณหทาส สร้าง
วิหาร ที่มีกำแพงและซุ้มอาทิผิด อาณัติกะประตูอันงามโดยอาการต่างๆ
ถึงพร้อมด้วยร่มเงาและน้ำ น่าดู น่ารื่นรมย์ เป็นที่
คับแคบแห่งทุรชนที่ถูกกำจัด เป็นที่สงัดสบาย น่า
เจริญใจ ณ ท่าเรือกาวีระ เป็นพื้นแผ่นดินที่เต็มด้วย
ชุมทางน้ำแห่งแม่น้ำกาวีระ น่ารื่นรมย์ เกลื่อนกล่น
ด้วยหญิงชายต่าง ๆ.
ข้าพเจ้าอยู่ ณ พื้นปราสาทด้านทิศตะวันออกใน
วิหารนั้น ที่เย็นอย่างยิ่ง แต่งอรรถกถาพรรณนาพุทธ-
วงศ์.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 24/311/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อรรถกถาอิสสรสูตร
พึงทราบวินิจฉัยในอิสสรสูตรที่ ๗ ต่อไป:-
บทว่า สตฺถมลํ ได้แก่ ศัสตราที่มีสนิมเกาะแล้ว. บทว่า กึสุ
หรนฺตํ วาเรนฺติ คือย่อมป้องกันมิให้นำไป. บทว่า วโส ได้แก่ ความ
เป็นไปทั่วแห่งอำนาจ. บทว่า อิตฺถี ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า
หญิง เป็นสูงสุดแห่งภัณฑะอาทิผิด อักขระทั้งหลายคือเป็นภัณฑะอันประเสริฐ เพราะเป็น
ภัณฑะที่ไม่พึงทอดทิ้ง. อีกอย่างหนึ่ง พระโพธิสัตว์ทั้งหลายและพระเจ้า
จักรพรรดิแม้ทั้งหมด ย่อมเกิดในท้องของมารดาเท่านั้น เพราะฉะนั้น
พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า หญิงเป็นสูงสุด แห่งภัณฑะทั้งหลาย ดังนี้.
บทว่า โกโธ สตฺถมลํ อธิบายว่า ความโกรธเช่นกับด้วยศัสตรา
อันสนิมเกาะกินแล้ว. อีกอย่างหนึ่ง เป็นสนิมของศัสตราคือ ปัญญา เพราะฉะนั้น
จึงตรัสว่า สนิมของศัสตรา ดังนี้. บทว่า อพฺพุทํ ได้แก่ เป็นเหตุแห่ง
ความพินาศ อธิบายว่า พวกโจรเป็นผู้ทำความพินาศในโลก. บทว่า หรนฺโต
ความว่า ถือเอาวัตถุทั้งหลายมีสลากภัตเป็นต้นไปอยู่. จริงอย่างนั้น สมณะ
เมื่อนำวัตถุทั้งหลายมีสลากภัตเป็นต้นเหล่านั้นอันมนุษย์ทั้งหลาย สละถวายแล้ว
ในเวลาที่ตั้งไว้นั่นแหละไป ชื่อว่า ย่อมเป็นที่รักของมนุษย์เหล่านั้น. เมื่อ
สมณะไม่นำวัตถุไป พวกมนุษย์ย่อมเป็นผู้วิปปฏิสาร (เดือดร้อน) เพราะ
อาศัยความเสื่อมจากบุญ (ที่จะได้).
จบอรรถกถาอิสสรสูตรที่ ๗
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 39/250/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ความสวัสดีจงมี. ความของสัจจวนะนั้น พึงทราบโดยนัยที่กล่าวมาก่อนแล้ว
นั่นแล. พวกอมนุษย์ในแสนโกฏิจักรวาล พากันยอมรับพุทธอาชญาแห่ง
พระคาถานี้แล.
พรรณนาคาถาอาทิผิด ว่า เย ปุคฺคลาอาทิผิด สระ
พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นตรัสสัจจวจนะ แม้ด้วยคุณแห่งมรรคธรรม
อย่างนี้แล้ว บัดนี้ จึงทรงเริ่มตรัสแม้ด้วยสังฆคุณว่า เย ปุคฺคลา เป็นต้น.
ในคำนั้น ศัพท์ว่า เย เป็นนิเทศไม่แน่นอน. บทว่า ปุคฺคลา ได้แก่
สัตว์ทั้งหลาย. ศัพท์ว่า อฏฺฐ เป็นการกำหนดจำนวนสัตว์เหล่านั้น จริงอยู่
สัตว์เหล่านั้น มี ๘ คือ ผู้ปฏิอาทิผิด อักขระบัติ [มรรค] ๘ ผู้ตั้งอยู่ในผล ๔. บทว่า สตํ
ปสฏฺฐา ได้แก่อันสัตบุรุษ คือพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระ-
สาวก และเทวดาและมนุษย์เหล่าอื่น สรรเสริญแล้ว. เพราะเหตุไร. เพราะ
ประกอบด้วยคุณ มีศีลที่เกิดร่วมกันเป็นต้น. ความจริง คุณทั้งหลายของ
สัตบุรุษเหล่านั้น มีศีลสมาธิเป็นต้นเกิดร่วมกัน เหมือนสีและกลิ่นเป็นต้นที่
เกิดร่วมกันของดอกจำปาและดอกพิกุลเป็นต้น . ด้วยเหตุนั้น บุคคลเหล่านั้น
จึงเป็นที่รัก .ที่ต้องใจ ที่น่าสรรเสริญ ของสัตบุรุษทั้งหลาย เหมือนดอกไม้
ทั้งหลาย ที่พร้อมด้วยสีและกลิ่นเป็นต้น เป็นที่รักที่ต้องใจน่าสรรเสริญของ
เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เย
ปุคฺคลา อฏฺฐ สตํ ปสฏฺฐา.
อีกนัยหนึ่ง ศัพท์ว่า เย เป็นนิเทศไม่แน่นอน. บทว่า ปุคฺคลา
ได้แก่สัตว์ทั้งหลาย. ศัพท์ว่า อฏฺฐสตํ เป็นการกำหนดจำนวนสัตว์เหล่านั้น.
จริงอยู่ สัตว์เหล่านั้น ได้แก่พระโสดาบัน ๓ พวก คือ เอกพิชี โกลังโกละอาทิผิด สระ
และสัตตตักขัตตุปรมะ พระสกทาคามี ๓ พวก ผู้บรรลุผลในกามภพ รูปภพ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 44/263/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บุตรของ เมณฑกเศรษฐี ในภัททิยนคร. ก็ในเวลาที่นางเกิด ชนทั้งหลาย
ได้ขนานนามของเธอว่า วิสาขา. ในคราวที่พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จ
ภัททิยอาทิผิด อักขระนคร เธอพร้อมด้วยทาริกา ๕๐๐ คน ไปต้อนรับพระผู้มีพระ-
ภาคเจ้า ได้เป็นพระโสดาบัน เพราะการได้เฝ้าครั้งแรกนั่นเอง.
ครั้นภายหลัง เธอไปยังคฤหาสน์ของ ปุณณวัฒนกุมาร ผู้เป็นบุตร
ของมิคารเศรษฐี ในกรุงสาวัตถี มิคารเศรษฐีผู้เป็นพ่อผัวตั้งเธอไว้ใน
ฐานะเป็นมารดา โดยเป็นผู้มีอุปการะในคฤหาสน์นั้น. เพราะฉะนั้น เขา
จึงขนานนามว่า มิคารมารดา. เธอสละเครื่องประดับ ชื่อว่า มหาลดา
ของตนโดยใช้ทรัพย์ ๙ โกฏิสร้างปราสาทประดับไว้ ๑,๐๐๐ ห้อง คือพื้น
ชั้นบน ๕๐๐ ห้อง พื้นชั้นล่าง ๕๐๐ ห้อง ณ พื้นที่ประมาณ ๑ กรีส
เพื่อเป็นที่ประทับและเป็นที่อยู่ของพระผู้มีพระภาคเจ้าและภิกษุสงฆ์. ด้วย
เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ในปราสาทของมิคารมารดา.
บทว่า โกจิเทว อตฺโต แปลว่า ประโยชน์บางอย่าง. บทว่า รญฺเญ
แปลว่า พระราชา. บทว่า ปฏิพทฺโธ แปลว่า เนื่องถึงกัน. พวกญาติของ
นางวิสาขาส่งสิ่งของเช่นนั้น อันวิจิตรด้วยแก้วมณีและแก้วมุกดาเป็นต้น
จากตระกูลญาติไปเพื่อเป็นบรรณาการแก่นาง. สิ่งของนั้นพอถึงประตูเมือง
พวกเก็บส่วยจึงเก็บส่วย ณ ที่นั้น แต่ไม่เก็บให้พอควรแก่สิ่งของนั้น เก็บ
เอาเกินไป. นางวิสาขาได้ฟังดังนั้น ประสงค์จะทูลความนั้นแก่พระราชา
จึงได้ไปยังพระราชนิเวศน์พร้อมด้วยบริวารพอสมควร, ขณะนั้น พระ-
ราชาพร้อมด้วยพระนางมัลลิกาเทวี ได้เสด็จไปภายในพระตำหนัก, นาง
วิสาขาเมื่อไม่ได้โอกาส จึงคิดว่า เราจักได้ในบัดนี้ เราจักได้ในบัดนี้
เป็นผู้ขาดการบริโภคอาหารเพราะเลยเวลาบริโภค จึงหลีกไป. แม้นางจะ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 75/85/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ในกาลนั้น เราเห็นชนมีโสมนัส ยินดี
ร่าเริงบันเทิงใจ จึงลงจากฟ้า ถาม
พวกมนุษย์ในขณะนั้นว่า มหาชนผู้มี
โสมนัส มีความยินดีร่าเริงแล้ว ย่อมแผ้ว-
ถางอาทิผิด อักขระทางทำถนนเพื่อใคร พวกมหาชน
เหล่านั้นถูกเราถามแล้ว จึงบอกแก่เราว่า
พระชินพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า ทีปังกร
ไม่มีผู้ยิ่งกว่า เป็นนายกของโลกทรงอุบัติ
ขึ้นในโลก มหาชนย่อมแผ้วถางทางทำ
ถนนเชื่อมต่อกันไปเพื่อพระองค์นั้นเพราะ
ฟังพระนามว่า พุทฺโธ ดังนี้ ปีติก็เกิด
ขึ้นแก่เราในทันทีทันใดนั้น เมื่อเราจะ
กล่าวว่า พุทฺโธ พุทฺโธ ดังนี้ จึงประกาศ
ถึงความโสมนัส มีความยินดีแล้ว ก็มีจิต
สลดยืนคิดอยู่ในที่นั้นว่า เราจักปลูกพืช
ทั้งหลายไว้ในที่นี้ ขอขณะ (เวลา) อย่าได้
ล่วงเราไปเสียเลย ถ้าว่าพวกท่านอาทิผิด อักขระแผ้วถาง
ทางเพื่อพระพุทธเจ้าไซร้ ขอพวกท่านจง
ให้ช่องว่าง ( ทาง ) ส่วนหนึ่งแก่เราเถิด
แม้เราก็จักแผ้วถางทางทำถนน พวกเขา
ได้ให้ช่องว่างทางส่วนหนึ่งแก่เราเพื่อชำระ
ทำถนนในครั้งนั้น เราคิดอยู่ว่า พุทฺโธ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 71/290/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปาฏลิปุปผิยเถราปทานที่ ๘ (๗๘)
ว่าด้วยผลแห่งการบูชาด้วยดอกแคฝอย
[๘๐] ในกาลนั้น เราเป็นบุตรเศรษฐสุขุมาลชาติ ตั้งอยู่ใน
ความสุข ได้เอาดอกแคฝอยห่อพกไปบูชาพระสัมพุทธเจ้า
ผู้มีพระฉวีวรรณดังทองคำ เช่นกับแท่งทองอันมีค่า มีพระ-
ลักษณะอันประเสริฐ ๓๒ ประการ กำลังเสด็จดำเนินอยู่ใน
ละแวกตลาด.
เราร่าเริง มีจิตโสมนัส บูชาพระองค์ด้วยดอกไม้
ถวายนมัสการพระพุทธเจ้าพระนามอาทิผิด อักขระว่าติสสะ ทรงรู้แจ้งโลก
เป็นนาถะของโลก ประเสริฐกว่านระ.
ในกัปที่ ๙๒ แต่กัปนี้ เราได้ทำกรรมใดในกาลนั้น ด้วย
กรรมนั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการบูชาด้วย
ดอกไม้ ในกัปที่ ๖๓ แต่กัปนี้ ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ มี
พระนามว่าอภิสมมต ทรงสมบูรณ์ด้วยแก้ว ประการ ๗ มี
พละมาก.
คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และ
อภิญญา ๖ เราทำให้แจ้งชัดแล้ว คำสอนของพระพุทธเจ้า
เราได้ทำเสร็จแล้ว ดังนี้.
ทราบว่า ท่านพระปาฏลิปุปผิยเถระได้กล่าวคาถาเหล่านี้ ด้วย
ประการฉะนี้แล.
จบปาฏลิปุปผิยเถราปทาน
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/371/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ประกอบด้วยปฐมฌาน. ด้วยอาการอย่างนี้ มรรคแม้ทั้ง ๔ ย่อมเป็นเช่นเดียวกัน
บ้าง ไม่เป็นเช่นเดียวกันบ้าง หรือเป็นเช่นเดียวกันบางอย่าง ด้วยอำนาจฌาณ.
ส่วนความแปลกของมรรคนั้น ด้วยกำหนดฌานเป็นบาทมีดัง
ต่อไป ว่าด้วยนิยาม (การกำหนด) มรรคที่มีฌานเป็นบาทก่อน เมื่อบุคคล
ผู้ได้ปฐมฌานออกจากปฐมฌานแล้วเห็นแจ้งอยู่ มรรคเป็นธรรมประกอบด้วย
ปฐมฌานก็เกิดขึ้น และในมรรคนี้ องค์มรรคและโพชฌงค์ ย่อมเป็นธรรม
บริบูรณ์ทีเดียว เมื่อบุคคลได้ทุติยฌานออกจากทุติยฌานพิจารณาเห็นแจ้งอยู่
มรรคประกอบด้วยทุติยฌานก็เกิดขึ้น แต่ในมรรคนี้ องค์มรรคย่อมมี ๗ องค์
เมื่อได้ตติยฌานออกจากตติยฌานแล้วพิจารณาเห็นแจ้งอยู่ มรรคประกอบด้วย
ตติยฌานก็เกิดขึ้น แต่ในมรรคนี้ องค์มรรคมี ๗ โพชฌงค์มี ๖. นับตั้งแต่
จตุตถฌานจนถึงเนวสัญญานาสัญญายตนฌานก็นัยนี้. ฌานที่เป็นจตุกนัยและ
ปัญจกนัยย่อมเกิดขึ้นในอรูปภพ. ก็ฌานนั้นแลตรัสเรียกว่า โลกุตระมิใช่โลกิยะ
ถามว่า ในอธิการนี้เป็นอย่างไร ตอบว่า ในอธิการนี้ พระโยคาวจรออกจาก
ณานใด บรรดาปฐมฌานเป็นต้น ได้เฉพาะซึ่งโสดาปัตติมรรคแล้วเจริญอรูป-
สมาบัติเกิดขึ้นในอรูปภพ มรรค ๓ (เบื้องต้น) ของเขาประกอบด้วยฌาน
นั้นแหละ ย่อมเกิดขึ้นในภพนั้น ด้วยอาการอย่างนี้ ฌานที่เป็นบาทนั้นเอง
ย่อมกำหนดมรรค.
แต่พระเถระบางพวกย่อมกล่าวว่า ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอารมณ์ของ
วิปัสสนาย่อมกำหนด บางพวกกล่าวว่า อัชฌาสัยของบุคคลย่อมกำหนด
บางพวกกล่าวว่า วิปัสสนาที่เป็นวุฏฐานคามินีย่อมกำหนด บัณฑิตพึงทราบ
วินิจฉัยวาทะของพระเถระเหล่านั้น โดยนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ในการวรรณนา
บทภาชนีย์ว่าด้วยโลกุตระอาทิผิด อักขระในจิตตุปปาทกัณฑ์ในหนหลังนั่นแล.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/929/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สุรุสุรุวรรค สิกขาบทที่ ๘
[๘๕๙] สาวัตถีนิทาน ครั้งนั้น พระฉัพพัคคีย์แสดงธรรมแก่บุคคล
ผู้ถือไม้พลอง. . .
พระอนุบัญญัติ
๒๐๓. ๕๘. ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่
บุคคลไม่อาทิผิด อาณัติกะใช่ผู้เจ็บไข้มีไม้พลองในมือ.
สิกขาบทวิภังค์
ที่ชื่อว่า ไม้พลอง ได้แก่ ไม้พลองยาวสี่ศอกของมัชฌิมบุรุษ ยาว
กว่านั้น ไม่ใช่ไม้พลอง สั้นกว่านั้น ก็ไม่ใช่ไม้พลอง.
อันภิกษุไม่พึงแสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้ถือไม้พลอง ภิกษุใดอาศัย
ความไม่เอื้อเฟื้อ แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ ผู้ถือไม้พลอง ต้องอาบัติทุกกฏ.
อนาปัตติวาร
ไม่แกล้ง ๑ เผลอ ๑ ไม่รู้ด้วย ๑ อาพาธ ๑ มีอันตราย ๑ วิกลจริต ๑
อาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.
สุรุสุรุวรรค สิกขาบทที่ ๘ จบ
สุรุสุรุวรรค สิกขาบทที่ ๙
[๘๖๐] สาวัตถีนิทาน ครั้งนั้น พระฉัพพัคคีย์แสดงธรรมแก่บุคคล
ผู้ถือศัสตรา . . .
พระอนุบัญญัติ
๒๐๔. ๕๙. ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรม
แก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้ มีศัสตราอาทิผิด อาณัติกะในมือ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/176/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อาจารย์ผู้ท้วงนั้น อันสกวาทีพึงกล่าวค้านอย่างนี้ว่า ก็ในเรือนแห่ง
เจดีย์ที่ไม่ปิดประตู เหตุไร จึงเป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้นอนร่วมอาทิผิด อักขระกับอนุปสัมบันผู้
นอนในภายนอกเล่า ?.
อาจารย์ผู้ท้วง จะพึงเฉลยว่า เพราะหน้ามุขกับห้องอาทิผิด อักขระเป็นที่มุงทั้งอาทิผิด อาณัติกะหมด
สกวาที ถามว่า ก็เมื่อปิดห้องแล้ว หลังคารื้อออกได้หรือ ?.
อาจารย์ผู้โจทก์เฉลยว่า รื้อออกไม่ได้, เพราะหน้ามุขกับห้องอาทิผิด อักขระบังทั้งหมด
จึงรื้อไม่ได้.
สกวาที ถามว่า ผนังกั้น (หน้ามุข) รื้อออกได้หรือ ?.
อาจารย์ผู้โจทก์จักกล่าวแน่นอนว่า รื้อออกไม่ได้ (เพราะ) อุปจาร
กั้นไว้ด้วยบานประตู. อาจารย์ผู้โจทก์จักดำเนินไปไกลแสนไกล โดยนัยอย่างนั้น
แล้วจักวกกลับมาหาความมีอุปจารเดียวกัน และอุปจารต่างกันนั่นแหละอีก.
อีกนัยหนึ่ง ถ้าหากว่า เนื้อความจะพึงเป็นอันเข้าใจได้ง่ายด้วยเหตุ
สักว่าพยัญชนะอย่างเดียวไซร้, ที่นอนมุงด้วยเครื่องมุง ๕ ชนิด ชนิดใด
ชนิดหนึ่งเท่านั้น จึงจะจัดเป็นที่นอนได้ ตามพระบาลีที่ว่า มุงทั้งหมด ที่นอน
มุงด้วยเครื่องมุงอย่างอื่นไม่ใช่. และเมื่อเป็นอย่างนี้ ก็ไม่พึงเป็นอาบัติในที่นอน
ซึ่งมุงด้วยไม้กระดานเป็นต้น. เพราะไม่มีความเป็นอาบัตินั้น สิกขาบทที่พระ
ผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติไว้เพื่อประโยชน์อันใด, ประโยชน์อันนั้น นั่นแหละ
พึงเสียไป. จะเสียประโยชน์อันนั้นไปหรือหาไม่ก็ตามที; ทำไมจะไปถือเอาคำ
ที่พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ตรัสไว้เล่า ? หรือว่าใครเล่ากล่าวว่า ควรเชื่อถือ
ถ้อยคำที่พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ตรัสไว้. จริงอยู่ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสคำนี้
ไว้ในอนิยตสิกขาบททั้งสองว่า อาสนะ ที่ชื่อว่ากำบัง คือ เป็นอาสนะที่เขา
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 33/269/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ในบทว่า รูปี รูปานิ ปสฺสติ นี้ รูปฌานที่เกิดด้วยอำนาจ
นีลกสิณเป็นต้น ที่ผมเป็นต้นในภายใน ชื่อว่า รูป. ชื่อว่า รูปี เพราะ
อรรถว่าเขามีรูปฌานนั้น. บทว่า พหิทฺธาอาทิผิด อักขระ รูปานิ ปสฺสติ ความว่า
ย่อมเห็นรูปมีนีลกสิณเป็นต้นภายนอก ด้วยฌานจักษุ. ด้วยบทนี้ ท่าน
แสดงรูปาวจรอาทิผิด อักขระฌานแม้ทั้ง ๔ ของบุคคลผู้ทำฌานให้เกิดในกสิณอันเป็น
วัตถุภายในและภายนอก. บทว่า อชฺฌตฺตํ อรูปสญฺญี ความว่า ไม่มี
ความเข้าใจรูปภายใน คือ รูปาวจรฌานอันไม่เกิดที่ผมเป็นต้นของตน.
ด้วยบทนี้ ท่านแสดงรูปาวจรฌานของบุคคลผู้กระทำบริกรรม ( กสิณ )
ในภายนอกแล้วทำฌานให้เกิด ( ที่กสิณ ) ในภายนอกนั่นแหละ.
ด้วยบทว่า สุภนฺเตว อธิมุตฺโต โหติ นี้ ท่านแสดงฌานใน
วัณณกสิณมีนีลกสิณเป็นต้นอันบริสุทธิ์. ในฌานเหล่านั้น ความคำนึงว่า
งาม ย่อมไม่มีในภายในอัปปนาก็จริง ถึงอย่างนั้น ภิกษุใดทำความงาม
อันบริสุทธิ์ดีให้เป็นอารมณ์ของกสิณอยู่ เพราะเหตุที่ภิกษุนั้นจะต้องถูก
เรียกว่า เป็นผู้น้อมใจไปว่า งาม เพราะฉะนั้น จึงตรัสเทศนาอย่างนั้น.
ก็ในปฏิสัมภิทามรรค ท่านพระสารีบุตรกล่าวไว้ว่า ชื่อว่าวิโมกข์ เพราะ
เป็นผู้น้อมใจไปว่า งามอย่างไร. ภิกษุในพระศาสนานี้ มีจิตสหรคต
ด้วยเมตตา ฯลฯ แผ่ไปตลอดทิศหนึ่งอยู่ เพราะเป็นผู้เจริญเมตตา สัตว์
ทั้งหลายจึงเป็นผู้ไม่น่ารังเกียจ. มีจิตสหรคตด้วยกรุณา มุทิตา อุเบกขา
แผ่ไป ฯ ล ฯ ตลอดทิศหนึ่งอยู่ เพราะเป็นผู้เจริญกรุณา มุทิตา อุเบกขา
สัตว์ทั้งหลายจึงเป็นผู้ไม่น่ารังเกียจ, ชื่อว่าวิโมกข์ เพราะอรรถว่า เป็นผู้
น้อมใจว่างามอย่างนี้ ด้วยประการดังกล่าวนี้. คำใดที่จะพึงกล่าวในบทว่า
สพฺพโส รูปสญฺญานํ เป็นต้น คำทั้งหมดแม้นั้น ได้กล่าวไว้แล้วใน
พระปิฎกธรรม