星期五, 十二月 18, 2015

Khatha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 39/250/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ความสวัสดีจงมี. ความของสัจจวนะนั้น พึงทราบโดยนัยที่กล่าวมาก่อนแล้ว
นั่นแล. พวกอมนุษย์ในแสนโกฏิจักรวาล พากันยอมรับพุทธอาชญาแห่ง
พระคาถานี้แล.

พรรณนาคาถาอาทิผิด ว่า เย ปุคฺคลาอาทิผิด สระ
พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นตรัสสัจจวจนะ แม้ด้วยคุณแห่งมรรคธรรม
อย่างนี้แล้ว บัดนี้ จึงทรงเริ่มตรัสแม้ด้วยสังฆคุณว่า เย ปุคฺคลา เป็นต้น.
ในคำนั้น ศัพท์ว่า เย เป็นนิเทศไม่แน่นอน. บทว่า ปุคฺคลา ได้แก่
สัตว์ทั้งหลาย. ศัพท์ว่า อฏฺฐ เป็นการกำหนดจำนวนสัตว์เหล่านั้น จริงอยู่
สัตว์เหล่านั้น มี ๘ คือ ผู้ปฏิอาทิผิด อักขระบัติ [มรรค] ๘ ผู้ตั้งอยู่ในผล ๔. บทว่า สตํ
ปสฏฺฐา ได้แก่อันสัตบุรุษ คือพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระ-
สาวก และเทวดาและมนุษย์เหล่าอื่น สรรเสริญแล้ว. เพราะเหตุไร. เพราะ
ประกอบด้วยคุณ มีศีลที่เกิดร่วมกันเป็นต้น. ความจริง คุณทั้งหลายของ
สัตบุรุษเหล่านั้น มีศีลสมาธิเป็นต้นเกิดร่วมกัน เหมือนสีและกลิ่นเป็นต้นที่
เกิดร่วมกันของดอกจำปาและดอกพิกุลเป็นต้น . ด้วยเหตุนั้น บุคคลเหล่านั้น
จึงเป็นที่รัก .ที่ต้องใจ ที่น่าสรรเสริญ ของสัตบุรุษทั้งหลาย เหมือนดอกไม้
ทั้งหลาย ที่พร้อมด้วยสีและกลิ่นเป็นต้น เป็นที่รักที่ต้องใจน่าสรรเสริญของ
เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เย
ปุคฺคลา อฏฺฐ สตํ ปสฏฺฐา.
อีกนัยหนึ่ง ศัพท์ว่า เย เป็นนิเทศไม่แน่นอน. บทว่า ปุคฺคลา
ได้แก่สัตว์ทั้งหลาย. ศัพท์ว่า อฏฺฐสตํ เป็นการกำหนดจำนวนสัตว์เหล่านั้น.
จริงอยู่ สัตว์เหล่านั้น ได้แก่พระโสดาบัน ๓ พวก คือ เอกพิชี โกลังโกละอาทิผิด สระ
และสัตตตักขัตตุปรมะ พระสกทาคามี ๓ พวก ผู้บรรลุผลในกามภพ รูปภพ
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: