星期五, 十二月 04, 2015

Watthu

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 86/216/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บุคคลพิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส
โผฏฐัพพะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุอาทิผิด สระ และขันธ์ทั้งหลายที่
เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น
โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยทิพยจักษุ, รู้จิตของ
บุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยเจโตปริย-
ญาณ.
ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่
เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๔๘๕] ๓. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณากุศล
นั้น, พิจารณากุศลที่สั่งสมดีแล้วในกาลก่อน, ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณาโคตรภู, พิจารณาโวทาน, พิจารณากิเลส
ที่ละแล้ว, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้กิเลสที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, พิจารณา
เห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทินนุปานิยธรรม และ
ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: