星期日, 三月 01, 2015

Lai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 40/59/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ศ. เธอได้ถามโดยเอื้อเฟื้อถึงการรับบริขาร ของภิกษุเหล่านั้น
หรือ ?
ต. ข้าพระองค์ไม่ได้ถามโดยเอื้อเฟื้อ พระเจ้าข้า.
ศ. เธอได้ถามโดยเอื้อเฟื้อถึงธรรมเนียม หรือน้ำดื่มหรือ ?
ต. ข้าพระองค์ไม่ได้ถามโดยเอื้อเฟื้อ พระเจ้าข้า.
ศ. เธอนำอาสนะมาแล้ว ทำการนวดเท้าให้หรือ ?
ต. ไม่ได้ทำ พระเจ้าข้า.

พระติสสะไม่ยอมขมาภิกษุสงฆ์
ศ. ติสสะ วัตรทั้งปวงนั่น เธอควรทำแก่ภิกษุผู้แก่. การที่
เธอไม่ทำวัตรทั้งปวงนั่น นั่งอยู่ในท่ามกลางวิหาร ไม่สมควร, โทษ
ของเธอเองมี, เธอจงขอโทษภิกษุทั้งหลายนั่นเสีย.
ต. พระองค์ผู้เจริญ พวกภิกษุนี้ได้ด่าข้าพระองค์, ข้าพระองค์
ไม่ยอมขอโทษเธอ.
ศ. ติสสะ เธออย่าได้ทำอย่างนี้. โทษของเธอเองมี เธอจงขอ
โทษภิกษุเหล่านั้นเสีย.
ต. พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ไม่ยอมขอโทษภิกษุเหล่านี้ .
ลำดับนั้น พระศาสดา เมื่อภิกษุทั้งหลายอาทิผิด อักขระกราบทูลว่า "ข้าแต่
พระองค์ผู้เจริญ พระติสสะนี้เป็นคนว่ายาก" ดังนี้แล้ว ตรัสว่า
"ภิกษุทั้งหลาย ติสสะนี้ มิใช่เป็นผู้ว่ายากแต่ในบัดนี้เท่านั้น, ถึงใน
กาลก่อน ติสสะนี้ก็เป็นคนว่ายากเหมือนกัน," เมื่อภิกษุเหล่านั้น
กราบทูลว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ทั้งหลาย ทราบความที่
 
พระปิฎกธรรม

1 条评论:

Website? 说...

…ก็ถ้าเราแปลได้ ก็แปลว่าเรารับใช้ธรรมท่านได้ มิใช่หรือ? แต่เราต้องการความสมบูรณ์บริบูรณ์ มิใช่ว่าเรามาเรียน เราทำไปเพื่อการจะรับใช้สิ่งใด , แล้วนั้น ยิ่งถ้าเป็นภิกษุผู้ทรงธรรมของพระวินัยธร ท่านก็ยิ่งต้องกล่าวว่า นั่น!มิเป็นไปด้วยบทแห่งธรรมเทศนาปฏิสังยุต ก็เพราะเหตุดั่งนั้นเอง และอีกประการฉะนั้น นักภาษาของเขาเขียนผิดเขียนถูก กระทำอนุโลมปฏิโลมศัพท์ตรงใด ตรงไหนบ้างนั้น ก็แล้วแต่เขา มิใช่ว่าพวกเรา เช่นนั้นจะพึงไปเห็นทำบังคับว่าผิดหรือถูก ไปด้วย ได้ , แต่!นั้น ให้ จำต้องพึงวาง Pali ให้ตรงกันเท่านั้น นั่นแหละ เพียงพอ ความมิต้องไปแปลของเขาของเราอะไรกันนักหรอก เพราะย่อมแปลว่ายักเยื้อง และเพราะ แปลว่าอะลุ้มอล่วย ครั้งจะทำ อันเฉพาะก็แต่ จะทำตามจำเป็น คือพวกเราจะต้องจะกระทำเป็นเครื่องมือ สร้างความบริบูรณ์ เพียงใด เท่านั้น , ที่ดี ก็คือท่านผู้เป็นนักบวช ท่านก็พึงเพ่งธรรมวิราคะ แต่!มิควรต้องการเสียเวลามากไปกับวิราคะ เพราะแค่จะสร้างราคา แก่ตัว , ฉะนั้น ควรแต่ว่า ภิกษุ! นักบวช พึงคนคงควรแต่ จะเร่งกระทำบทแห่งวิราคะฉะนั้น ให้ได้ไปถึงวิมุตติ์…

...phra ariya thamma...