Prachachon
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 20/71/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คำว่า อิทํ ปิสฺส โหติ จรณสฺมึ ความว่า แม้อันนี้ก็ย่อมชื่อว่า
จรณะของภิกษุผู้มีศีล ชื่อว่า จรณะมีมากมิใช่อย่างเดียว ได้แก่อาทิผิด อาณัติกะ ธรรม ๑๕ มีศีล
เป็นต้น . อธิบายว่า ในธรรม ๑๕ นั้น แม้ศีลนี้ก็เป็นจรณะอย่างหนึ่ง แต่
โดยใจความเฉพาะบท ผู้ใดเที่ยว คือไปสู่ทิศที่ไม่เคยไปด้วยคุณชาตินี้ เหตุ
นั้นคุณชาตินี้ชื่อว่า จรณะ เครื่องเที่ยวไป. ในที่ทุกแห่ง ก็มีนัยนี้. คำว่า
อิทํ ปิสฺส โหติ วิชฺชาย ความว่า ปุพเพนิวาสญาณนี้ ย่อมชื่อว่า วิชชา
ของภิกษุนั้น. ชื่อว่า วิชชามีมาก มิใช่อย่างเดียว ได้แก่ ญาณ ๘ มีวิปัสสนา-
ญาณเป็นต้น . อธิบายว่า ในญาณ ๘ นั้น ญาณแม้นี้ ก็ชื่อว่า วิชชาอย่าง
หนึ่ง แต่โดยใจความเฉพาะบท ผู้ใดรู้แจ้งแทงตลอดด้วยคุณชาตนี้ เหตุนั้น
คุณชาตินี้ชื่อว่า วิชชา เครื่องรู้แจ้งแทงตลอด. คำว่า วิชฺชาสมฺปนฺโน อติปิ
ความว่า ถึงพร้อมด้วยวิชชา ๓ เรียกว่า ผู้สมบูรณ์ด้วยวิชชาดังนี้บ้าง. คำว่า
จรณสมฺปนฺโน อิติปิ ความว่า ถึงพร้อมด้วยธรรม ๑๕ เรียกว่า ผู้สมบูรณ์
ด้วยจรณะดังนี้บ้าง. คำว่า วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน อิติปิ ความว่า ส่วนผู้
ถึงพร้อมด้วยทั้งสองอย่างนั้น เรียกว่า ผู้สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะดังนี้บ้าง.
คำว่า สนฺนงฺกุมาเรน๑ คือ เด็กโบราณ ที่ปรากฏชื่อว่า กุมารมาตั้งแต่กาล
ไกลโน้น เล่ากันว่า ในถิ่นมนุษย์สันนังกุมารนั้น ทำฌานให้บังเกิดครั้งยังเป็น
เด็กไว้จุก ๕ จุก ฌานก็ไม่เสื่อม ไปบังเกิดในพรหมโลก อัตภาพของเขาน่ารัก
น่าพอใจ เพราะฉะนั้นเขาจึงเที่ยวไปด้วยอัตภาพเช่นนั้น ด้วยเหตุนั้น คน
ทั้งหลายจึงให้สมญานามเขาว่า สันนังกุมาร. คำว่า ชเนตสฺมึ คือ ในหมู่ชน.
อธิบายว่า ในหมู่ประชาชนอาทิผิด อักขระ. คำว่า เย โคตฺตปฏิสารโน ความว่า ชนเหล่า
ใดยึดถือโคตร ในชนหมู่นั้นว่าเราเป็นโคตมะ เราเป็นกัสสปะ ในหมู่คนที่
ยึดถือเรื่องโคตรนั้น กษัตริย์ก็เป็นผู้ประเสริฐสุดในโลก. คำว่า อนุมตา
๑. บาลีเป็นสนังกุมาร
พระปิฎกธรรม
1 条评论:
…เรื่องแปล อันเราท่านไม่ข้องเวร แต่พึงจะข้องด้วยเฉพาะวิเศษ! จำพวกอุบาสกท่านควรจะพึงแนะนำพระคุณเจ้า ไปพรรณนาแสวงธรรม ไว้เพียงบทเท่านี้ ที่ซึ่ง ‘อลคัททะ มีธรรม!’ แปลงจะสร้างความวัฒนาในโลก ด้วยกัน อย่างไรมี จน ทุกแห่ง เห็นได้ว่า ท่านใช้หลักเกณฑ์ ลากโยงสู่บทนิรุตติธรม ประการ ทั้ง 5 อย่างของเรานี่หล่ะ เป็นของพระภิกษุ ท่านเองกล่าวจะใช้ หากต้องยกข้อธรรม นั้น อันมีแบบทางภาษา? ตนจะพึงเข้าว่าให้คนต้องพิจารณา หรือกระทำซึ่งไปบทพินิจฉัย แก่ภาคคุณและโทษ ความว่า แต่เรื่อง ดังต่อไปนี้ ท่านจงพึงพิจารณาเองเถิด นับว่าเป็นข้อควร ที่นัปการว่าดีอยู่ จะให้หาว่าผิดอย่างไร ไม่เลย
คือ 1¹
การแปล ก็ย่อมมี ๒อย่าง ทั้งวัน นั่นแหละ ในกรณีย์ที่รู้หลัก หรือแนวที่จะทำได้ถูก ที่เห็น ก็คือ การแปลกดขึ้น! กับแปลกดลง! จะทุกเรื่องอย่างนั้นการแปล เป็นอันตัดสินขาด อยู่ปลายดินสอปากกา นั่นเอง
ตรงแต่มาดู ที่แปลไม่ได้ แปร!ไม่ได้ หรือไม่ได้ขื่อแป ก็อาจแตะไม่ได้ คือเตะแป ให้ไม่ได้ คือจะไปกดขึ้น หรือกดลง ก็ไม่ได้ ซึ่งโดยธรรมดา ที่บอกว่า แปไปตรง ๆ ดั่งนั้น ก็คือ ไม่แปล! นั่นเอง , ฉะนั้น ก็คือ ย่อมไม่พ้น ๒อย่าง แรก อยู่นั่นเอง ของผู้ใด ที่รู้หลัก หรือรู้แนวเฉพาะ ที่จะกระทำได้ถูก
แต่ทีนี้ ‘แป้ก!’ คือเตะแป้ก! แปแป้ก ถึงวงระดับโลก ก็มีอย่างนั้น ง่อกแง่ก แหง็ก อยู่ตรงนั้น ทำไม่ได้เลย เสียไป คือให้สังเคราะห์ หรือหาประโยชน์ ยังไม่ได้ เพราะยังไม่นำพา ไม่ได้มาอนุเคราะห์ , แต่!มักจะมุ่งความ หาว่าแต่ตรงที่แปร จะนำพา ที่สุด ก็จึงมิได้มุข! และมิได้บาฐฐานพื้นเพสิ่งใด เพราะที่จะนำไป นั่นคือ การหัน!ที่ได้หัน!จมูกอันที่เป็นของตน ยังหาค้นไม่เจออากาศ นั่นเอง
เพราะว่า ทุกการอยู่ ท่ามกลางแวดล้อม ตกอยู่ในหวำของข้อมูล ที่เจิ่ง และท่วมตัวเราและจะท่วมหัวเรามิด ซึ่งเราไม่เกี่ยว และก็ไม่รู้จัก ข้อมูล เช่นนั้น ความก็เหมือนดั่งการดำน้ำ นั่นเอง มิใช่ท่านต้องหาท่ออากาศให้พบก่อนหรือ? ก็จึงจะอยู่สืบได้ ต่อไป ซึ่ง!ท่ออากาศที่ต่อ ให้หายใจอยู่ ก็ไม่ใช่เรื่องที่รับประกันว่า คนจะต้องแปลได้ความ ได้ประโยชน์ หรือให้ได้อะไรกลับคืนมา
คือ 2¹
เมื่อทุกท่าน จะตั้งข้อสังเกต ควรจะพึงต้องว่า
๑ได้แก่
๒แปลว่า
๓หมายถึง
๔คือ
๕หมายความว่า
จรดตน ไม่พึงนิยาม หากว่ามิใช่พระพุทธเจ้านิยามเอง นิยามใดเกิน ๕ จะไป ๖ แล้วนั้น ย่อมเป็นสิ่งหยาบคาย หรือเป็นเรื่องลามกทั้งสิ้น พวกเราอยู่ในคำตรัส เป็นอันดี ประกอบมาแต่สาราณียธรรม ยิ่งไม่ควร แก่อัน ที่จะต้องแสดงความทุกข์ของผู้อื่น โดยหยาบคาย
คติข้อนี้ น่าจะเห็นได้ต่อไปว่า เป็น อรรถะ หากท่านว่าเป็นอรรถะ แล้วนั้น ก็ย่อมเป็นธรรม และเมื่อเป็นธรรม แล้ว ย่อมถูกแก่ บท สัมมัตตนิยาม อันเป็นของพระเจ้ามหาสมมุติ กล่าวเป็นมูฬหภาษา ถึงจะว่า มาแต่มูลเดิมก็จริง แต่ฉะนั้น ก็เป็นเพราะ ท่านว่ากันถึงประโยชน์
จะเปรียบอย่างไรหล่ะครับ ทุกท่านเอ๋ย เราเขา ที่ใด โมหะ ก็โมหะ แต่ว่าอรรถกถา ท่านก็แสดงไว้แล้ว ว่าเมื่อใครได้ว่าอุบาย หรือว่าได้ดำเนินตนไปในอุบาย (กุศล) ตนก็ย่อมไม่ตกอบาย หรือไปอบาย
เอาเป็นว่า ทุก ๆ ท่าน ว่า เจ้าอินเทอร์เน็ต นี้! เป็นกุศลไหมเล่า? ว่าสิ่งเดิม วัตถุประสงค์ คืออุบายหลักเดิมขั้นพื้นฐาน ของอินเทอร์เน็ต จริง ๆ ย่อมเป็นกุศลใช่ไหมเล่า เช่นนี้แล้ว มูลเดิม นั้นแหละ เราควรหาฝังจิต ฝากใจไปด้วย
ไปหมดแล้วด้วย หากว่า พวกเราเป็นไปตามมูลเดิมนั้น ๆ หากไปจริงอยู่ เราก็ย่อมไม่ตกอบาย เพราะท่านชี้อยู่แล้วว่า ผู้ดำเนินอยู่ในอุบาย หรือโดยอุบาย เป็นกุศล ก็ย่อมกล่าวได้ ตามจริงว่า ยังไม่ตกไปในอบาย หรือว่าได้ดำเนินตนไปสู่อบาย
มา ณ มูลภาษา ตามที่ข้าพเจ้าคิดว่า ดีที่สุด จากที่ได้พิจารณา เป็นปัจจุบัน แล้วนี้ ก็คือ ข้อ๔ และ ข้อ๑ ว่าเป็นที่สมควรพิจารณาเอา ธรรม! มาเป็นอรรถะ แต่ไม่ควรว่าพิจารณาเอาอรรถะ นั้น ๆ มาว่า เป็น ธรรม! เพราะว่ามูลเดิม หรือเรื่อง ย่อมเป็นแต่สัมมัตตนิยาม อยู่แล้ว ฉะนั้น ก็ไม่จำเป็น ที่จะว่าอะไรหรือ?ที่เป็น อรรถะ เพราะได้ละไว้ในฐานที่เข้าใจ
จึงควร¹ แล้วแต่พระคุณเจ้าท่านใดจะสังเกต พิจารณา¹
ความสำคัญ!อย่างนี้ เพียรแต่กล่าวร้อยแก้ว กัน มิได้ร้อยกลอง ธรรมะเภรี พึงแต่จะยังควรเป็นไพรี มีท่ามกลางอยู่ คือจะเป็นภัยร้ายในป่า หรือว่าเป็นสมุนไพร ในป่า! ก็พึงแต่ว่า เราท่าน จะกล่าวทำจังหวะ ทำโอกาส แห่งการร้อยกรอง บท! ได้เป็นผลสำเร็จ ซึ่งแต่การเห่อบ้า ว่าจะเรียนไปข้างฝรั่ง ถ้าเราลงข้างฝรั่ง แล้วว่า กลอนเขาจะมีอะไร? กลอนเขา ไม่มีอะไร?เป็นกลอน คือว่าถ้าให้ยกภาษามากทั้งโลกนี้ วจนะอันคือบทร้อยกรองเล่า ธรรมะอันคือ ธรรมะเภรี นี้ ด้วยอำนาจฉันท์ประเภทนี้ ? ย่อมมักอยู่แต่ในพลังอำนาจของชาติภาษาของคนไทยเรา เท่านั้น มิใช่จะให้อารยะอื่น หรือว่าใครที่อื่นมาทำได้…
...siamindra...
发表评论