Athit
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 15/180/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เหล่านั้น น้ำเป็นของปฏิกูลสำหรับแพะทั้งหลาย แต่น้ำนั้นเป็นที่ชอบใจ
ของช้างทั้งหลาย เป็นที่ผาสุกของฝูงโค เพราะมีความเย็นและความร้อน
เสมอกัน. ฉะนั้น ในเวลาใด ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ขึ้นสู่วิถีของแพะ
เวลานั้น ฝนไม่ตกเลยแม้สักเม็ดเดียว เมื่อใดดวงจันทร์และดวงอาทิตย์อาทิผิด
ขึ้นสู่วิถีของช้าง เมื่อนั้นฝนจะตกแรงเหมือนท้องฟ้ารั่วอาทิผิด อาณัติกะ. เมื่อดวงจันทร์
และดวงอาทิตย์ขึ้นสู่วิถีของโค เมื่อนั้นความสม่ำเสมอของฤดูก็ย่อมถึง
พร้อม.
ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ ย่อมเคลื่อนอยู่ภายนอกภูเขาอาทิผิด อาณัติกะสิเนรุเป็น
เวลา ๖ เดือน และโคจรอยู่ภายในอีก ๖ เดือน. ความจริงดวงจันทร์
และดวงอาทิตย์นั้นย่อมโคจรไปใกล้ภูเขาสิเนรุในเดือน ๘. แต่นั้นเคลื่อน
ออกไปโคจรอยู่ในภายนอก ๒ เดือนแล้ว เคลื่อนไปอยู่โดยท่ามกลางใน
ต้นเดือน ๑๒. แต่นั้น เคลื่อนมุ่งหน้าต่อจักรวาลแล้วโคจรอยู่ ใกล้ๆจักรวาล
เป็นเวลา ๓ เดือน แล้วเคลื่อนออกห่างมาอีก ไปอยู่ตรงกลางจักรวาลใน
เดือน ๕ ต่อแต่นั้นในเดือนอื่นก็เคลื่อนมุ่งหน้าต่อภูเขาสิเนรุ แล้วไป
โคจรอยู่ใกล้ ๆ ภูเขาสิเนรุในเดือน ๘ อีก.
พึงทราบวินิจฉัยในคำว่าดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ทำแสงอาทิผิด อักขระสว่างใน
ที่นี้ประมาณเท่าไร ดังนี้ ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ ย่อมทำแสงสว่างใน
ทวีปทั้ง ๓ โดยพร้อมกัน. กระทำได้อย่างไร. ก็เวลาพระอาทิตย์ขึ้นใน
ทวีปนี้เป็นเวลาเที่ยงในปุพพวิเทหทวีป เวลาที่พระอาทิตย์ตกในอุตตรกุรุ
ทวีปเป็นมัชฌิมยามในอมรโคยานทวีป. เวลาที่ดวงอาทิตย์ขึ้นในปุพพวิ-
เทหทวีปเป็นเวลาเที่ยงในอุตตรกุรุทวีป เวลาที่พระอาทิตย์ตกในอมรโค-
ยานทวีปเป็นมัชฌิมยามในทวีปนี้. เวลาที่พระอาทิตย์ขึ้นในอุตตรกุรุทวีป
เป็นเวลาเที่ยงในอมรโคยานทวีป เวลาที่พระอาทิตย์ตกในทวีปนี้ เป็นเวลา
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论