星期四, 二月 26, 2015

Phueng

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 40/36/5  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
โจรเป็นอันมาก ทำโจรกรรมมีปล้นบ้านเป็นต้นอยู่ด้วยกัน เมื่อมีใคร
ถามว่า “ใครเป็นหัวหน้าของพวกมัน ?” ผู้ใดเป็นปัจจัยของพวกมัน คือ
อาศัยผู้ใดจึงทำกรรมนั้นได้ ผู้นั้นชื่อทัตตะก็ตาม ชื่อมัตตะก็ตาม เขา
เรียกว่าหัวหน้าของมัน ฉันใด; คำอุปไมยซึ่งเป็นเครื่องให้อรรถถึงพร้อม
นี้ บัณฑิตพึงอาทิผิด สระรู้แจ้ง ฉันนั้น. ใจชื่อว่าเป็นหัวหน้าของธรรมทั้งหลายนั่น
ด้วยอรรถว่า เป็นปัจจัยเครื่องยังธรรมให้เกิดขึ้นฉะนี้ เหตุนั้น ธรรม
ทั้งหลายนั่น จึงชื่อว่ามีใจเป็นหัวหน้า, เพราะเมื่อใจไม่เกิดขึ้น ธรรม
เหล่านั้นย่อมไม่สามารถจะเกิดขึ้นได้. ฝ่ายใจ ถึงเจตสิกธรรมบางเหล่า
แม้ไม่เกิดขึ้น ก็ย่อมเกิดขึ้นได้แท้. อนึ่ง ใจชื่อว่าเป็นใหญ่ของธรรม
ทั้งหลายนั่น ด้วยอำนาจเป็นอธิบดี เหตุนั้น ธรรมทั้งหลายนั่นจึงชื่อว่า
มีใจเป็นใหญ่. เหมือนอาทิผิด อักขระอย่างว่า ชนทั้งหลายมีโจรผู้เป็นหัวโจกเป็นต้น
ผู้เป็นอธิบดี ได้ชื่อว่าเป็นใหญ่ของชนทั้งหลายมีโจรเป็นต้น ฉันใด,
ใจผู้เป็นอธิบดี ได้ชื่อว่าเป็นใหญ่ของธรรมเหล่านั้น ฉันนั้น, เหตุนั้น
ธรรมเหล่านั้น จึงชื่อว่ามีใจเป็นใหญ่. อนึ่ง สิ่งทั้งหลายนั้น ๆ เสร็จ
แล้วด้วยวัตถุมีไม้เป็นต้น ก็ชื่อว่าของสำเร็จแล้วด้วยไม้เป็นต้น ฉันใด.
แม้ธรรมทั้งหลายนั่น ได้ชื่อว่าสำเร็จแล้วด้วยใจ เพราะเสร็จมาแต่ใจ
ฉันนั้น.
บทว่า ปทุฏฺเฐน คือ อันโทษมีอภิชฌาเป็นต้นซึ่งจรมาประทุษ-
ร้ายแล้ว. จริงอยู่ ใจปกติชื่อว่าภวังคจิต, ภวังคจิตนั้นไม่ต้องโทษ
ประทุษร้ายแล้ว. เหมือนอย่างว่า น้ำอาทิผิด ใสเศร้าหมองแล้ว เพราะสีทั้งหลาย
มีสีเขียวเป็นต้นซึ่งจรมา (กลับ ) เป็นน้ำต่างโดยประเภทมีน้ำเขียว
เป็นต้น จะชื่อว่าน้ำใหม่ก็มิใช่ จะชื่อว่าน้ำใสตามเดิมนั่นแลก็มิใช่ ฉันใด,
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: