turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 32/133/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ตั้งอยู่ในความหลอกลวง. ส่วนความประกาศคุณที่มีอยู่ และความ
เป็นผู้ไม่รู้จักประมาณในการรับ ชื่อว่าเป็นผู้มีความมักมาก. ความ
มักมากแม้นั้นก็มาแล้วโดยนัยนี้เหมือนกันแหละว่า คนบางคนใน
โลกนี้ เป็นผู้มีศรัทธา ย่อมปรารถนาว่า ขอชนจงรู้จักเราว่า เป็น
ผู้มีศรัทธา. บางคนเป็นผู้มีศีล ย่อมปรารถนาว่า ขอชนจงรู้จัก
เราว่าเป็นผู้มีศีล. บุคคลผู้ประกอบด้วยความมักมากนั้น เป็นผู้อิ่ม
ได้ยาก. แม้มารดาผู้บังเกิดเกล้า ก็ไม่สามารถจะยึดจิตใจเขาได้.
ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวคำนี้ไว้ว่า
อคฺคิกฺขนฺโธ สนุทฺโทจ มหิจฺโฉ จาปิ ปุคฺคโล
สกเฏน ปจฺจเยอาทิผิด สระ เทนฺตุ ตโยเปเต อตปฺปิยา.
กองไฟ ๑ สมุทร ๑ คนมักมาก ๑ ให้ปัจจัยตั้ง
เล่มเกวียน ทั้ง ๓ ประเภทนั้น ไม่รู้จักอิ่มอาทิผิด .
ส่วนการซ่อนคุณที่มีอยู่ ความเป็นผู้รู้จักประมาณในการรับ ชื่อว่า
ความเป็นผู้มักน้อย. บุคคลผู้ประกอบด้วยความเป็นผู้มักน้อยนั้น
ย่อมปรารถนาว่า ขอชนจงรู้จักเราว่าเป็นผู้มีศรัทธา เป็นผู้มีศีล ชอบ
สงัด เป็นพหูสูตอาทิผิด สระ ผู้ปรารภความเพียร ถึงพร้อมด้วยสมาธิ เป็นผู้มี
ปัญญา เป็นขีณาสพ ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนจงรู้จักเราว่า
เป็นพระขีณาสพ เหมือนพระมัชฌันติกเถระ ฉะนั้น.
ได้ยินว่า พระเถระ ได้เป็นพระขีณาสพผู้ใหญ่. แต่บาตร
และจีวรของท่าน มีราคาเพียงบาทเดียวเท่านั้น. ท่านได้เป็นพระ
สังฆเถระ ในวันฉลองวิหาร ของพระเจ้าธรรมาโศกราช. ครั้งนั้น
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 16/393/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บรรดาบทเหล่านั้นบทว่า นาถกรณา ความว่า ธรรมอันกระทำ
ที่พึ่งแห่งตน อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้อย่างนี้ว่า ภิกษุทั้งหลาย พวก
เธอจงมีที่พึ่งอยู่เถิด อย่าอยู่ไม่มีที่พึ่งเลย ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๑๐ ประการ
เหล่านี้ เป็นธรรมที่กระทำที่พึ่ง. พึงทราบวินิจฉัยในคำว่า กลฺยาณมิตฺโต
เป็นต้น. มิตรทั้งหลายของบุคคลนั้น ถึงพร้อมด้วยคุณมีศีลเป็นต้น คือ
เป็นคนดี เพราะเหตุนั้น บุคคลนั้นชื่อว่า กัลยาณมิตร ( ผู้มีมิตรดี ).
อนึ่งมิตรเหล่านั้นของบุคคลนั้น ชื่อว่า สหายอาทิผิด อักขระ เพราะไปร่วมกันในอิริยาบถ
ทั้งหลายมีการยืนอาทิผิด สระและการนั่งเป็นต้น เพราะเหตุนั้น บุคคลนั้นจึงชื่อว่า
กัลยาณสหาย ( ผู้มีสหายดี ). ความเข้าพวกในกัลยาณมิตรนั่นแล น้อมไป
ทั้งจิตและกาย เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า กัลยาณสัมปวังกะ ( ผู้มีพวกดี ).
สองบทว่า สุพฺพโจ โหติ ความว่า เป็นผู้อันเขาพึงว่ากล่าวได้
โดยง่าย คืออันเขาพึงตามสอนได้โดยง่าย. บทว่า ขโม ความว่า ผู้ถูก
เขาว่า ด้วยถ้อยคำอันหนักคือ หยาบคาย ได้แก่แข็งกระด้าง ย่อมอดทนได้
คือไม่โกรธ. สองบทว่า ปทกฺขิณคฺคาหี อนุสาสนี ความว่า ผู้ไม่
กระทำเหมือนบุคคลบางคน พอถูกเขาโอวาทก็รับโดยเบื้องซ้าย แตกแยก
กันไป หรือไม่ฟังไปเสีย ย่อมรับเบื้องขวาด้วยกล่าวว่า ท่านผู้เจริญ ขอ
ท่านจงโอวาท จงตามสอนเถิด เมื่อท่านไม่โอวาท คนอื่นใครเล่า จัก
โอวาทดังนี้. บทว่า อุจฺจาวจานิ ความว่า สูงและต่ำ. บทว่า กึกรณียานิ
ความว่า การงานอันจะพึงกล่าวกระทำอย่างนี้ว่า กระผมจะทำอะไร. บรรดา
การงานเหล่านั้น การงานมีอาทิอย่างนี้ว่า การกระทำจีวร การย้อมจีวร
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 34/164/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อุโบสถนั้น ย่อมทำด้วยการรับและการส่งวันอุโบสถ ๔ วันในกึ่งเดือนหนึ่ง
(คือ) เมื่อจะรับอุโบสถวัน ๕ ค่ำ ก็ต้องเป็นผู้รักษาอุโบสถในวัน ๔ ค่ำ
เมื่อจะส่งอุโบสถก็ส่งในวัน ๖ ค่ำ. เมื่อจะรับอุโบสถวัน ๘ ค่ำ ก็ต้องเป็น
ผู้รักษาอุโบสถในวัน ๗ ค่ำ เมื่อจะส่งอุโบสถก็ส่งในวัน ๙ ค่ำ. เมื่อจะรับ
อุโบสถวัน ๑๔ ค่ำ ก็ต้องเป็นผู้รักษาอุโบสถในวัน ๑๓ ค่ำ เมื่อจะส่งอุโบสถ
ก็ส่งในวัน ๑๕ ค่ำ. เมื่อจะรับอุโบสถวัน ๑๕ ค่ำ ก็ต้องเป็นผู้รักษาอุโบสถ
ในวัน ๑๔ ค่ำ เมื่อจะส่งอุโบสถก็ส่งในวันแรม ๑ ค่ำ.
บทว่า ปุญฺานิ กโรนฺติ ความว่า มนุษย์ทั้งหลายทำบุญ มี
ประการต่าง ๆ มีการถึงสรณะ รับนิจศีล บูชาด้วยดอกไม้ ฟังธรรม ตาม
ประทีปพันดวง และสร้างวิหารเป็นต้น . เทวดาเหล่านั้น ท่องเที่ยวไปอย่างนี้
แล้ว เขียนชื่อและโคตรของมนุษย์ผู้ทำบุญลงบนแผ่นทอง แล้วนำมาถวายท้าว
มหาราชทั้ง ๔. บทว่า ปุตฺตา อิมํ โลกํ อนุวิจรนฺติ ความว่า (โอรส
ของท้าวมหาราชทั้ง ๔) ท่องเที่ยวไป (ตรวจดู) เพราะถูกท้าวมหาราชทั้ง ๔
ส่งไปตามนัยก่อนนั้นและ บทว่า ตทหุ แปลว่า ในวันนั้น. บทว่า อุโปสเถ
แปลว่า ในวันอุโบสถ.
บทว่า สเจ ภิกฺขเว อปฺปกา โหนฺติ ความว่า บริษัท
อำมาตย์ของท้าวมหาราชอาทิผิด อักขระทั้ง ๔ เข้าไปยังคาม นิคม และราชธานีเหล่านั้นๆ. ก็
เทวดาที่อาศัยอยู่ตามคาม นิคม และราชธานีเหล่านั้น ๆ ทราบว่า อำมาตย์
ของท้าวมหาราชทั้งหลายมาแล้ว ต่างก็พากันถือเครื่องบรรณาการไปยังสำนัก
ของเทวดาเหล่านั้น.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 86/133/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คือ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม โดยความเป็น
ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ
ปรารภขันธ์นั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศล อกุศลดับแล้ว
ตทารัมมณจิต อันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๖. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจยัแก่เนววิปากนวิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอรหันต์ ออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณากุศลธรรม
ที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน พระอรหันต์พิจารณาอาทิผิด กิเลสที่ละแล้ว รู้กิเลสที่
เคยเกิดแล้วในกาลก่อน พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม โดยความ
เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียง
ด้วยวิปากธัมมธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกิริยา ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนอาทิผิด สระกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 67/127/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อารมณ์ต่าง ๆ ในโลก เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า พึงข้ามตัณหาอันเกาะเกี่ยว
ในอารมณ์ต่าง ๆ ในโลก.
เพราะเหตุนั้น พราหมณ์นั้นจึงกล่าวว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ ข้าพระองค์
ชอบใจพระดำรัสของพระองค์นั้น และธรรมอันสูงสุดที่
บุคคลทราบแล้ว เป็นผู้มีสติเที่ยวไป พึงข้ามตัณหาอัน
เกาะเกี่ยวในอารมณ์ต่าง ๆ ในโลกได้.
[๑๗๖] (พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสตอบว่า ดูก่อนเมตตคู)
ท่านย่อมรู้ธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นธรรมชั้นสูง
ชั้นต่ำ และชั้นกลางส่วนกว้าง ท่านจงบรรเทาความยินดี
ความพัวพันและวิญญาณในธรรมเหล่านั้นเสีย ไม่พึงตั้ง
อยู่ในภพ.
[๑๗๗] คำว่า ท่านย่อมรู้ธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ความว่า ท่าน
ย่อมรู้ คือ รู้ทั่ว รู้แจ้ง รู้แจ้งเฉพาะ แทงตลอดซึ่งธรรมอย่างใดอย่าง
หนึ่ง เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ท่านย่อมรู้ธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง พระ-
ผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกพราหมณ์นั้น โดยชื่อว่า เมตตคู. คำว่า ภควา นี้
เป็นเครื่องกล่าวโดยเคารพ ฯ ล ฯ คำว่า ภควา นี้ เป็นสัจฉิกาบัญญัติ
เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ดูก่อนเมตตคู.
[๑๗๘] พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอนาคตอาทิผิด อักขระว่า ชั้นสูง ในอุเทศว่า
“ อุทฺธํ อโธ ติริยญฺจาปิ มชฺเฌ ” ดังนี้ ตรัสอดีตว่า ชั้นต่ำ ตรัสปัจจุบันว่า
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 49/136/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อุพพรีวรรคที่ ๒
อรรถกถาสังสารโมจกเปติวัตถุที่ ๑
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเวฬุวัน ทรงปรารภ
นางเปรตตนหนึ่ง ในบ้านชื่อว่า อิฏฐกวดี แคว้นมคธ จึงตรัสคำเริ่มต้น
ว่า นคฺคา ทุพฺพณฺณรูปาสิ ดังนี้.
ได้ยินว่า ในแคว้นมคธ ได้มีหมู่บ้าน ๒ หมู่ คือ หมู่บ้าน
อิฏฐกวดี และหมู่บ้านทีฆราชิ. ใน ๒ หมู่บ้านนั้น มีพวกคนมิจฉา-
ทิฏฐิ. พวกสังสารโมจกะเป็นอันมากอยู่ประจำ. ก็ในอดีตกาล
ในที่สุด ๕๐๐ ปี มีหญิงคนหนึ่ง บังเกิดในตระกูลสังสารโมจกะ
ตระกูลหนึ่ง ในบ้านอิฏฐกวดีนั้นแหละ ด้วยอำนาจมิจฉาทิฏฐิ
ฆ่าแมลงชนิดตั๊กแตนเป็นจำนวนมาก แล้วบังเกิดเป็นเปรต.
นางเสวยทุกข์มีความหิวกระหายเป็นต้น ถึง ๕๐๐ ปี เมื่อ
พระผู้มีพระภาคเจ้าของเราทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นในโลก ทรง
ประกาศพระธรรมจักรอันบวร เสด็จเข้าไปอาศัยเมืองราชคฤห์
ประทับอยู่ในพระเวฬุวันโดยลำดับ นางกลับอาทิผิด อักขระมาเกิดในตระกูล
สังสารโมจกะนั้นแล ตระกูลหนึ่ง ในหมู่บ้านอิฏฐกวดี ในเวลา
ที่นางมีอายุ ๗-๘ ขวบ ได้สามารถเล่นรถกับพวกเด็กหญิงอื่น ๆ
ได้ ท่านพระสารีบุตรเถระ. อาศัยบ้านนั้นนั่นเหละ อยู่ในอรุณวดี-
วิหาร วันหนึ่ง พร้อมด้วยภิกษุ ๑๒ รูป เดินเลยไปตามนางใกล้
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 14/136/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ธรรมเหล่านั้น บุคคลพึงรู้จักกายสมาจาร วจีสมาจาร และการแสวงหาใดว่า
เมื่อเราเสพกายสมาจาร วจีสมาจาร และการแสวงหานี้แล้ว อกุศลธรรมย่อม
เสื่อมไป กุศลธรรมย่อมเจริญมากดังนี้ กายสมาจาร วจีสมาจาร และการ
แสวงหาเป็นปานนั้น ควรเสพ. อาตมภาพกล่าวกายสมาจาร วจีสมาจาร และ
การแสวงหาโดยส่วนละ ๒ ๆ คือที่ควรเสพก็มี ที่ไม่ควรเสพก็มี. อาตมภาพ
กล่าวหมายถึงข้อความดังว่ามาฉะนี้ และอาศัยเหตุนี้ จึงกล่าวดังนั้น ภิกษุ
ปฏิบัติอย่างนี้แลย่อมชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความสำรวมในพระปาฏิโมกข์.
[๒๕๙] ส. ข้าแต่พระองค์ผู้นิรทุกข์ ก็ภิกษุปฏิบัติอย่างไร ชื่อว่า
เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อความสำรวมในอินทรีย์.
พ. อาตมภาพย่อมกล่าว รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์
อันจะพึงรู้ด้วยจักขุ โสตอาทิผิด อักขระ ฆาน ชิวหา กาย มนะ ส่วนละ ๒ คือที่ควรเสพ
ก็มี ที่ไม่ควรเสพก็มี.
เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วอย่างนี้ ท้าวสักกะผู้จอมเทพ ได้
กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ย่อมทราบซึ้งถึงเนื้อความแห่ง
ภาษิตที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วโดยย่อนี้ได้โดยพิสดาร เมื่อบุคคลเสพ รูป
เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ ธรรมารมณ์ อันจะพึงรู้ด้วยจักขุ โสตอาทิผิด อักขระ ฆาน
ชิวหา กาย มนะ อย่างใดอยู่ อกุศลธรรมย่อมเจริญมาก กุศลธรรมย่อม
เสื่อมไป ดังนี้ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ เห็นปานนั้น
ไม่ควรเสพ. เมื่อบุคคลเสพ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์
อันจะพึงรู้ด้วยจักขุ โสตอาทิผิด อักขระ ฆาน ชิวหา กาย มนะ อย่างใดอยู่ อกุศลธรรม
ย่อมเสื่อมไป กุศลย่อมเจริญมาก ดังนี้แล รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
ธรรมารมณ์ เห็นปานนั้น ควรเสพ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 68/126/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คำว่า ทสฺสนวิสุทฺธิญาณํ - ญาณในความบริสุทธิ์แห่ง
มรรคญาณและผลญาณ ความว่า มรรคญาณและผลญาณ ชื่อว่า
ทัสนะ, ทัสนะนั่นแหละบริสุทธิ์ ชื่อว่า ทัสนวิสุทธิ, ญาณคือทัสน-
วิสุทธิ ชื่อว่า ทัสนวิสุทธิญาณ. มรรคญาณย่อมบริสุทธิ์ ฉะนั้นจึง
ชื่อว่า ทัสนวิสุทธิ, ผลญาณก็ชื่อว่า ทัสนวิสุทธิ เพราะบริสุทธิ์แล้ว.
๔๑. อรรถกถา ขันติญาณุทเทส
ว่าด้วย ขันติญาณ
บัดนี้ เพื่อจะแสดงวิปัสสนาญาณ ๒ ประการอันให้สำเร็จทัสน-
วิสุทธิ พระธรรมเสนาบดีสารีบุตรจึงยกขันติญาณและปริโยคาหณญาณ
ขึ้นแสดงต่อจากทัสนวิสุทธิญาณนั้น.
ในขันติญาณนั้น คำว่า วิทิตตฺตา ปญฺญา - ปัญญาในความ
ที่ธรรมปรากฏ ความว่า ปัญญาอันเป็นไปแล้ว เพราะรู้แจ้งซึ่งธรรม
มีรูปขันธ์เป็นต้น โดยความเป็นของไม่เที่ยงเป็นต้น.
คำว่า ขนฺติญาณํ - ขันติญาณ ความว่า ธรรมชาติใด
ย่อมรู้ธรรมโดยความเป็นของไม่เที่ยงนั่นอาทิผิด อักขระเอง ฉะนั้น จึงชื่อว่า ขันติ,
ญาณคือขันติ ชื่อว่า ขันติญาณ. ด้วยขันติญาณนี้ ย่อมห้ามอธิวาสน-
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 51/152/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๒. สิวกเถรคาถา
ว่าด้วยคาถาของพระสิวกเถระ
[๒๘๙] ได้ยินว่า พระสิวกเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า
เรือนคืออัตภาพที่เกิดในภพนั้นบ่อย ๆ เป็นของ
ไม่เที่ยง เราแสวงหานายช่างอาทิผิด อักขระ คือ ตัณหาผู้สร้างเรือน
เมื่อไม่พบ ได้ท่องเที่ยวไปสู่สงสาร สิ้นชาติมิใช่น้อย
การเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์ร่ำไป ดูก่อนนายช่างผู้สร้าง
เรือน บัดนี้ เราพบท่านแล้ว ท่านจักไม่ต้องสร้างเรือน
ให้เราอีก ซี่โครงคือกิเลสของท่านเราหักเสียหมดแล้ว
และช่อฟ้าคืออวิชชาแห่งเรือนของท่าน เราทำลายแล้ว
จิตของเราไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดาแล้ว จักดับอยู่ใน
ภพนี้เอง.
อรรถกถาสิวกเถรคาถา
คาถาของท่านพระสิวกเถระ เริ่มต้นว่า อนิจฺจานิ คหกานิ.
เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ?
แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำแล้วในพระพุทธเจ้าองค์-
ก่อนๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาลของพระผู้มี-
พระภาคเจ้า ทรงพระนามว่า วิปัสสี บรรลุนิติภาวะแล้ว วันหนึ่ง เห็นพระ-
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 25/161/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๗. ปฐมโกกาลิกสูตร
ว่าด้วยพรหมปรารภพระโกกาลิกภิกษุ
[๕๙๒] สาวัตถีนิทาน.
ก็สมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับพักกลางวันหลีกเร้นอยู่แล้ว.
ครั้งนั้นแล สุพรหมปัจเจกพรหมและสุทธาวาสปัจเจกพรหมเข้าไปใกล้
ที่ประทับของพระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นแล้วได้ยืนพิงบานประตูองค์ละข้าง.
[๕๙๓] ลำดับนั้นแล สุพรหมปัจเจกพรหมปรารภพระโกกาลิกภิกษุอาทิผิด
ได้กล่าวคาถานี้ในสำนักพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า
ใครผู้มีปัญญาในโลกนี้ จะพึง
กำหนดวัดซึ่งพระขีณาสพผู้มีคุณอันใคร ๆ
ประมาณไม่ได้ เราเห็นว่าผู้นั้นไม่มีธุต-
ธรรม เป็นปุถุชน วัดอยู่ซึ่งพระขีณาสพผู้
มีคุณ อันใคร ๆ ประมาณมิได้.
อรรถกถาปฐมโกกาลิกสูตร
ในปฐมโกกาลิกสูตรที่ ๗ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้ :-
บทว่า อปฺปเมยฺยํ ปมินนฺโต ความว่า กำหนดนับบุคคลผู้เป็น
ขีณาสพ ผู้มีคุณอันใคร ๆ ประมาณไม่ได้ อย่างนี้ว่า ศีลมีประมาณเท่านี้
สมาธิมีประมาณเท่านี้ ปัญญามีประมาณเท่านี้. ด้วยคำว่า โกธ วิทฺวา วิกปฺปเย
ความว่า ใครผู้มีปัญญา ผู้มีเมธาในโลกนี้พึงกำหนด ท่านแสดงว่า พระ-
ขีณาสพอาทิผิด อักขระเท่านั้น พึงกำหนดนับพระขีณาสพ. บทว่า นิธุตนฺตํ มญฺเ ความว่า
ก็ผู้ใดเป็นปุถุชน ปรารภจะวัดพระขีณาสพนั้น เรากล่าวผู้นั้นว่า ไม่มีธุตธรรม
คือมีปัญญาต่ำทราม.
จบอรรถกถาปฐมโกกาลิกสูตรที่ ๗
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 44/168/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
ธรรมสภานั้นท่านเรียกว่า อุปัฏฐานศาลา เพราะเป็นที่ที่พวกภิกษุกระทำ
อุปัฏฐากพระตถาคตผู้เสด็จมาแสดงธรรม. อีกอย่างหนึ่ง ศาลาก็ดี มณฑป
ก็ดี ซึ่งเป็นที่ที่เหล่าภิกษุวินิจฉัยวินัยแสดงธรรม ประชุมธรรมสากัจฉา
และเป็นที่เข้าไปประชุมตามปกติโดยการประชุมกัน ท่านก็เรียกว่า อุปัฏ-
ฐานศาลา เหมือนกัน. จริงอยู่ แม้ในที่นั้น ก็เป็นอันพระองค์ทรงบัญญัติ
พระพุทธศาสนาเป็นนิตย์ทีเดียว. จริงอยู่ ข้อนี้เป็นจารีตของเหล่าภิกษุใน
สมัยที่พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่. บทว่า สนฺนิสินฺนานํ ได้แก่ นั่ง
ประชุมโดยการนั่ง. บทว่า สนฺนิปติตานํ ได้แก่ผู้ประชุมกัน โดยมาจาก
ที่นั้นๆ แล้วประชุม. อีกอย่างหนึ่ง ผู้ประชุมโดยมุ่งเอาพระพุทธศาสนา
เป็นหลัก แล้วนั่งประชุมกันโดยเคารพ เพื่อให้เกิดความเอื้อเฟื้อ เหมือน
ประชุมอยู่เฉพาะพระพักตร์พระศาสดา คือ เพราะมีอัธยาศัยเสมอกันจึง
ประชุมตามอัธยาศัยแห่งกันและกัน และด้วยการตกลงกันด้วยดีโดย
ชอบ. ด้วยบทว่า อยํ ท่านแสดงถึงคำที่กำลังกล่าวอยู่ในขณะนี้. บทว่า
อนฺตรากถา ได้แก่ ถ้อยคำอันหนึ่ง คืออย่างหนึ่งในระหว่างกิจ มีมนสิการ-
กรรมฐาน อุเทศ และการสอบถามเป็นต้น, อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า
อันตรากถา เพราะเป็นไปในระหว่างแห่งสุคโตอาทิผิด อักขระวาทที่ได้ในเวลาเที่ยงวัน
และในระหว่างการฟังธรรมที่จะพึงได้ในเวลาเย็น, อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า
อันตรากถา เพราะเป็นคาถาอย่างหนึ่ง คืออันหนึ่ง ที่เป็นไปในระหว่าง
แห่งสมณสมาจารนั่นเอง. บทว่า อุทปาทิ แปลว่า เกิดขึ้นแล้ว.
บทว่า อิเมสํ ทฺวินฺนํ ราชูนํ เป็นฉัฏฐีวิภัตติ ใช้ในอรรถนิทธารณะ.
ในคำว่า มหทฺธนตโร วา เป็นต้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้ ชื่อว่า มีทรัพย์
มาก เพราะผู้นั้นมีทรัพย์มาก กล่าวคือสะสมรัตนะทั้ง ๗ ฝังไว้ในแผ่นดิน,
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 65/127/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ความสุขเป็นปทัฏฐาน. พึงเห็นว่า ความตั้งมั่นแห่งใจเหมือนความหยุด
นิ่งของเปลวประทีปในที่สงัดลม ชื่อว่า สมาธิพละ เพราะอรรถว่า ไม่
หวั่นไหวในความฟุ้งซ่าน.
ชื่อว่า ปัญญา เพราะอรรถว่า รู้ชัด, รู้ชัดอะไร ? รู้ชัดอริยสัจ
ทั้งหลายโดยนัยเป็นต้นว่า นี้ทุกข์ ดังนี้. ปัญญานั้นมีการแทงตลอดตาม
สภาวะเป็นลักษณะ, หรือมีการแทงตลอดไม่พลาดเป็นลักษณะ, เหมือน
การแทงตลอดของลูกธนูที่ยิงไปด้วยธนูของผู้มีฝีมือ. มีการส่องสว่างซึ่ง
อารมณ์เป็นรส. เหมือนดวงประทีป. มีความไม่ลุ่มหลงเป็นปัจจุปัฏฐาน
เหมือนผู้ชี้แจงอย่างดีแก่ผู้ไปป่า. ชื่อว่า ปัญญาพละ เพราะอรรถว่า
ไม่หวั่นไหวในอวิชชา.
บทว่า หิริพลํ โอตฺตปฺปพลํ ความว่า ชื่อว่า หิริพละ เพราะ
อรรถว่า ไม่หวั่นไหวในคนไม่มีหิริ ชื่อว่า โอตตัปปพละ เพราะ
อรรถว่า ไม่หวั่นไหวในคนไม่มีโอตตัปปะ.
พรรณนาเนื้อความของบททั้งสองมีดังต่อไปนี้. ชื่อว่า หิริ เพราะ
อรรถว่า ละอายต่อกายทุจริตเป็นต้น. คำว่า หิริ นี้เป็นชื่ออาทิผิด อาณัติกะของความ
ละอาย. ชื่อว่า โอตตัปปะ เพราะอรรถว่า เกรงกลัวต่อกายทุจริตเป็น
ต้นเหล่านั้นแล. คำว่า โอตตัปปะ นี้เป็นชื่อของความหวาดสะดุ้งต่อ
บาป.
เพื่อแสดงการกระทำต่าง ๆ ของหิริและโอตตัปปะเหล่านั้น ท่านเว้น
มาติกานี้ สมุฏฐานที่สำคัญมีความละอายเป็นต้นเป็นลักษณะ ดังนี้เสีย,
กล่าวกถาพิสดารต่อไปนี้ :-
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 36/149/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปูคคามณิกสฺส คือหัวหน้าหมู่. บทว่า กุเลสุ คือในตระกูลนั้น ๆ. บทว่า
ปจฺเจกาธิปจฺจํ กาเรนฺติ คือ ครอบครองอธิปัตย์ความเป็นใหญ่แต่ผู้เดียว.
บทว่า กลฺยาเณน มนสา อนุกมฺปนฺติ คือ อนุเคราะห์ด้วยจิต
อันดีงาม. บทว่า เขตฺตกมฺมนฺตสามนฺตสโพฺยหาเร ได้แก่ ชนผู้เป็น
เจ้าของที่นาติดกับของตนโดยรอบของชาวนา และพนักงานรังวัดที่ถือเชือก
และไม้วัดพื้นที่. บทว่า พลิปฏิคฺคาหิกา เทวตา ได้แก่ อารักขเทวดาที่
เชื่อถือกันมาตามประเพณีของตระกูล. บทว่า ตา สกฺกโรติ ได้แก่ กระทำ
สักการะเทวดาเหล่านั้น ด้วยข้าวต้มและอาทิผิด อักขระข้าวสวยอย่างดี.
บทว่า กิจฺจกโร คือ เป็นผู้ช่วยกระทำกิจที่เกิดขึ้น. บทว่า เย
จสฺส อุปชีวิโน ได้แก่ ชนผู้เข้าไปอาศัยกิจนั้นเลี้ยงชีพ บทว่า อุภินฺนํ-
เยว อตฺถาย ความว่า เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ชนแม้ทั้งสอง.
บทว่า ปุพฺพเปตานํ คือ ผู้ไปสู่ปรโลกอาทิผิด อักขระแล้ว. บทว่า ทิฏฐธมฺเม จ ชีวตํ
คือ ญาติผู้มีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงญาติทั้งหลายใน
อดีตและปัจจุบันแม้ด้วยบททั้งสองนี้ ด้วยประการฉะนี้. บทว่า ปีติสญฺชนโน
คือ ให้เกิดความยินดี. บทว่า ฆรามาวสํ แปลว่า อยู่ครองเรือน. บทว่า
ปุชฺโช โหติ ปสํสิโย ความว่า ย่อมเป็นผู้อันเขาพึงบูชา และพึงสรรเสริญ.
จบอรรถกถากุมารลิจฉวีสูตรที่ ๘
๙. ปฐมทุลลภสูตร
ว่าด้วยธรรมที่หาได้ยากสำหรับผู้บวชเมื่อแก่
[๕๙] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุบวชเมื่อแก่ ผู้ประกอบด้วยธรรม
๕ ประการ หาได้ยาก ธรรม ๕ ประการเป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 88/132/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๑๒] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกอาทิผิด อักขระธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภเหตุธรรม เหตุธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
๒. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภเหตุธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่
ใช่เหตุธรรม ย่อมเกิดขึ้น
๓. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็น
สเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภเหตุธรรม เหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ย่อมเกิดขึ้น.
๔. ธรรมที่เป็นสเหตุธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณา
กุศลกรรมนั้น.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 28/277/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๒. ปฐมสัปปายสูตร๑
ว่าด้วยปฏิปทาเป็นสัปปายะแก่นิพพาน
[๒๓๒] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราจะแสดงปฏิปทาอันเป็นสัปปายะ
แก่นิพพาน แก่เธอทั้งหลายอาทิผิด เธอทั้งหลายจงฟัง ฯลฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ปฏิปทาอันเป็นสัปปายะแก่นิพพานนั้นเป็นไฉน. ภิกษุในศาสนานี้ ย่อม
เห็นว่า จักษุไม่เที่ยง รูปทั้งหลายไม่เที่ยง จักษุวิญญาณไม่เที่ยง จักษุสัมผัส
ไม่เที่ยง แม้สุขเวทนา ทุกข์เวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้น
เพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัยก็ไม่เที่ยง ฯลฯ ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมเห็นว่า
ใจไม่เที่ยง ธรรมารมณ์ไม่เที่ยง มโนวิญญาณไม่เที่ยง มโนสัมผัสไม่เที่ยง
แม้สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้นเพราะมโน
สัมผัสเป็นปัจจัยก็ไม่เที่ยง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้อาทิผิด เป็นปฏิปทาอันเป็น
สัปปายะแก่นิพพาน.
จบ ปฐมสัปปายสูตร ๒
๓. ทุติยสัปปายสูตร
ว่าด้วยปฏิปทาเป็นสัปปายะแก่นิพพาน
[๒๓๓] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงปฏิปทาอันเป็นสัปปายะ
แก่นิพพานแก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง ฯลฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ปฏิปทาอันเป็นสัปปายะแก่นิพพานนั้นเป็นไฉน ภิกษุในศาสนานี้ เห็นว่า
๑. อรรถกถาสูตรที่ ๒ - ๕ แก้รวมกันไว้ท้ายสูตรที ๕
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 88/136/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เพราะกระทำเหตุอาทิผิด อักขระธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรม และสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๓. ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม และธรรมที่เป็น
สเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
เพราะกระทำเหตุธรรมทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุ-
ธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นทั้งเหตุธรรมและสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และเหตุธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรมแต่ไม่ใช่เหตุธรรม ด้วยอำนาจของ
อธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระปิฎกธรรม