Paralok
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 36/149/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปูคคามณิกสฺส คือหัวหน้าหมู่. บทว่า กุเลสุ คือในตระกูลนั้น ๆ. บทว่า
ปจฺเจกาธิปจฺจํ กาเรนฺติ คือ ครอบครองอธิปัตย์ความเป็นใหญ่แต่ผู้เดียว.
บทว่า กลฺยาเณน มนสา อนุกมฺปนฺติ คือ อนุเคราะห์ด้วยจิต
อันดีงาม. บทว่า เขตฺตกมฺมนฺตสามนฺตสโพฺยหาเร ได้แก่ ชนผู้เป็น
เจ้าของที่นาติดกับของตนโดยรอบของชาวนา และพนักงานรังวัดที่ถือเชือก
และไม้วัดพื้นที่. บทว่า พลิปฏิคฺคาหิกา เทวตา ได้แก่ อารักขเทวดาที่
เชื่อถือกันมาตามประเพณีของตระกูล. บทว่า ตา สกฺกโรติ ได้แก่ กระทำ
สักการะเทวดาเหล่านั้น ด้วยข้าวต้มและอาทิผิด อักขระข้าวสวยอย่างดี.
บทว่า กิจฺจกโร คือ เป็นผู้ช่วยกระทำกิจที่เกิดขึ้น. บทว่า เย
จสฺส อุปชีวิโน ได้แก่ ชนผู้เข้าไปอาศัยกิจนั้นเลี้ยงชีพ บทว่า อุภินฺนํ-
เยว อตฺถาย ความว่า เป็นผู้ปฏิบัติเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ชนแม้ทั้งสอง.
บทว่า ปุพฺพเปตานํ คือ ผู้ไปสู่ปรโลกอาทิผิด อักขระแล้ว. บทว่า ทิฏฐธมฺเม จ ชีวตํ
คือ ญาติผู้มีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงญาติทั้งหลายใน
อดีตและปัจจุบันแม้ด้วยบททั้งสองนี้ ด้วยประการฉะนี้. บทว่า ปีติสญฺชนโน
คือ ให้เกิดความยินดี. บทว่า ฆรามาวสํ แปลว่า อยู่ครองเรือน. บทว่า
ปุชฺโช โหติ ปสํสิโย ความว่า ย่อมเป็นผู้อันเขาพึงบูชา และพึงสรรเสริญ.
จบอรรถกถากุมารลิจฉวีสูตรที่ ๘
๙. ปฐมทุลลภสูตร
ว่าด้วยธรรมที่หาได้ยากสำหรับผู้บวชเมื่อแก่
[๕๙] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุบวชเมื่อแก่ ผู้ประกอบด้วยธรรม
๕ ประการ หาได้ยาก ธรรม ๕ ประการเป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论