星期日, 十二月 31, 2017

Im

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 32/133/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ตั้งอยู่ในความหลอกลวง. ส่วนความประกาศคุณที่มีอยู่ และความ
เป็นผู้ไม่รู้จักประมาณในการรับ ชื่อว่าเป็นผู้มีความมักมาก. ความ
มักมากแม้นั้นก็มาแล้วโดยนัยนี้เหมือนกันแหละว่า คนบางคนใน
โลกนี้ เป็นผู้มีศรัทธา ย่อมปรารถนาว่า ขอชนจงรู้จักเราว่า เป็น
ผู้มีศรัทธา. บางคนเป็นผู้มีศีล ย่อมปรารถนาว่า ขอชนจงรู้จัก
เราว่าเป็นผู้มีศีล. บุคคลผู้ประกอบด้วยความมักมากนั้น เป็นผู้อิ่ม
ได้ยาก. แม้มารดาผู้บังเกิดเกล้า ก็ไม่สามารถจะยึดจิตใจเขาได้.
ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวคำนี้ไว้ว่า
อคฺคิกฺขนฺโธ สนุทฺโทจ มหิจฺโฉ จาปิ ปุคฺคโล
สกเฏน ปจฺจเยอาทิผิด สระ เทนฺตุ ตโยเปเต อตปฺปิยา.

กองไฟ ๑ สมุทร ๑ คนมักมาก ๑ ให้ปัจจัยตั้ง
เล่มเกวียน ทั้ง ๓ ประเภทนั้น ไม่รู้จักอิ่มอาทิผิด .

ส่วนการซ่อนคุณที่มีอยู่ ความเป็นผู้รู้จักประมาณในการรับ ชื่อว่า
ความเป็นผู้มักน้อย. บุคคลผู้ประกอบด้วยความเป็นผู้มักน้อยนั้น
ย่อมปรารถนาว่า ขอชนจงรู้จักเราว่าเป็นผู้มีศรัทธา เป็นผู้มีศีล ชอบ
สงัด เป็นพหูสูตอาทิผิด สระ ผู้ปรารภความเพียร ถึงพร้อมด้วยสมาธิ เป็นผู้มี
ปัญญา เป็นขีณาสพ ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนจงรู้จักเราว่า
เป็นพระขีณาสพ เหมือนพระมัชฌันติกเถระ ฉะนั้น.
ได้ยินว่า พระเถระ ได้เป็นพระขีณาสพผู้ใหญ่. แต่บาตร
และจีวรของท่าน มีราคาเพียงบาทเดียวเท่านั้น. ท่านได้เป็นพระ
สังฆเถระ ในวันฉลองวิหาร ของพระเจ้าธรรมาโศกราช. ครั้งนั้น
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: