turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 50/144/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
(พ้นจากทาส) แล้วบอกว่า ขอท่านจงบวชตามสบาย ภิกษุทั้งหลายให้เขา
บรรพชาแล้ว. จำเดิมแต่บวชแล้ว เขากลับเป็นผู้เกียจคร้าน เป็นผู้ที่มีความ-
เพียรเสื่อม ไม่กระทำวัตรปฏิบัติใด ๆ ที่ไหนจะบำเพ็ญสมณธรรมเล่า มุ่งแต่
บริโภคจนเต็มที่ มักมากไปด้วยการนอนอย่างเดียว. แม้ในเวลาฟังธรรม
ก็เข้าไปสู่มุมแห่งหนึ่ง นั่งท้ายบริษัท หลับกรนครอก ๆ ตลอดเวลา. ลำดับนั้น
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรวจดูบุรพนิสัยของท่านแล้ว เพื่อจะให้ท่านเกิดความ
สังเวช จึงได้ตรัสพระคาถาว่า
เมื่อใด บุคคลเป็นผู้ง่วงเหงา และกินมาก มัก
นอนหลับ กลิ้งเกลือกไปมา เมื่อนั้น เขาเป็นคนเขลา
ย่อมเข้าห้องอาทิผิด อักขระบ่อย ๆ เหมือนสุกรใหญ่ ที่เขาปรนปรือ
ด้วยเหยื่อ ฉะนั้น ดังนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มิทฺธี ความว่า เป็นผู้อันถีนะและมิทธะ
ครอบงำแล้ว. อธิบายว่า มิทธะครอบงำผู้ใด แม้ถีนะก็ย่อมครอบงำผู้นั้นด้วย
เหมือนกัน. บทว่า ยทา แปลว่า ในกาลใด.
บทว่า มหคฺฆโส ความว่า บริโภคมาก เหมือนพราหมณ์อาหรหัตถะ
พราหมณ์อลังสาฎกะ พราหมณ์ตัตถวัฏฏกะ พราหมณ์กากมาสกะ พราหมณ์
ภุตตวมิตกะคนใดคนหนึ่ง. บทว่า นิทฺทายิตา แปลว่า ผู้มักหลับ. บทว่า
สมฺปริวตฺตสายี ความว่า นอนกลิ้งไปกลิ้งมา. ท่านแสดงว่า ประกอบเนือง ๆ
ซึ่งความสุขในการนอน ความสุขในผัสสะ และความสุขในความง่วงเหงา-
หาวนอน แม้ด้วยบททั้งสอง. บทว่า นิวาปปุฏฺโฐ ความว่า อันเขาเลี้ยง
คือ บำรุงเลี้ยง ด้วยสูกรภัต มีรำข้าวเป็นต้น. อธิบายว่า สุกรในเรือนที่เขาเลี้ยง
แต่เวลายังเล็ก ๆ เวลามีร่างกายอ้วนพีไม่ได้ออกไปนอกคอก ย่อมนอนกลิ้ง
ไปมา ในที่ต่าง ๆ มีเตียงข้างล่างเป็นต้น ทีเดียว.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 66/395/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คือมองดูประตูเรือน. บทว่า อุทฺธํ โอโลเกนฺโต แลดูข้างบน คือแหงน
หน้ามองดูเบื้องบน. บทว่า จกฺขุนา รูปํ ทิสฺวา เห็นรูปด้วยจักษุ คือ
เห็นรูปด้วยจักขุวิญญาณอันสามารถเห็นรูป ที่เรียกว่าจักษุด้วยอำนาจของ
เหตุ. แต่พระโบราณาจารย์กล่าวไว้ว่า จักษุไม่เห็นรูป เพราะไม่มีจิต
จิตไม่เห็นรูป เพราะไม่มีจักษุ ย่อมเห็นด้วยจิตอันมีปสาทจักษุกระทบ
อารมณ์ทางทวาร. ก็กถาเช่นนี้ชื่อว่าสสัมภารกถา (กล่าวรวมกัน ) ดุจใน
ประโยคมีอาทิว่า ยิงด้วยธนูเพราะฉะนั้น ความในข้อนี้จึงมีว่า เห็นรูป
ด้วยจักษุวิญญาณ. บทว่า นิมิตฺตคฺคาหี เป็นผู้ถือนิมิต คือถือนิมิตหญิง
และชาย หรือนิมิตอันเป็นที่ตั้งแห่งกิเลส มีสุภนิมิตเป็นต้นด้วยอำนาจ
ฉันทราคะ. เพียงเห็นเท่านั้นนิมิตไม่ปรากฏ. บทว่า อนุพฺยญฺชนคฺคาหี
ถืออนุพยัญชนะ คือถืออาการอันอาทิผิด ต่างด้วยมือ เท้า หัวเราะ ขบขัน พูด
ชำเลืองดูและการเหลียวดูเป็นต้น เรียกว่าอนุพยัญชนะเพราะทำให้ปรากฏ
โดยเป็นเหตุให้กิเลสทั้งหลายปรากฏ. พึงทราบความในบทว่า ยตฺวาธิ-
กรณเมนํ เป็นต้น ดังต่อไปนี้. ธรรมทั้งหลายมีอภิชฌาเป็นต้นเหล่านี้
พึงครอบงำติดตามบุคคลนั้นผู้ไม่สำรวมจักขุนทรีย์ด้วยประตูคือสติ ผู้ไม่ปิด
จักษุทวารอันเป็นเหตุแห่งการไม่สำรวมจักขุนทรีย์ บทว่า ตสฺส สํวรายอาทิผิด
น ปฏิปชฺชติ ย่อมไม่ปฏิบัติเพื่อสำรวมจักขุนทรีย์ คือย่อมไม่ปฏิบัติเพื่อ
ปิดจักขุนทรีย์นั้นด้วยประตูคือสติ. ท่านกล่าวว่า ภิกษุเป็นอย่างนี้ ชื่อว่า
ย่อมไม่รักษาจักขุนทรีย์ ไม่ถึงความสำรวมในจักขุนทรีย์บ้าง. ในบทนั้น
การสำรวมหรือไม่สำรวม ย่อมไม่มีในจักขุนทรีย์โดยแท้. เพราะสติหรือ
การหลงลืมย่อมไม่เกิดขึ้นเพราะอาศัย จักษุประสาท อีกอย่างหนึ่ง เมื่อใด
รูปารมณ์มาสู่คลองจักษุ เมื่อนั้นเมื่อภวังคจิตเกิดขึ้นแล้วดับไปสองครั้ง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 73/141/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เกิดความประหลาดอัศจรรย์ ความประหลาดอัศจรรย์ที่วิเศษยิ่งกว่านั้น ยังมีอยู่
ขอท่านทั้งหลายจงฟังอาทิผิด ความอัศจรรย์นั้นของเรา จึงตรัสคำเป็นต้นว่า
การทำฤทธิ์ต่าง ๆ ของเรา จะอัศจรรย์อะไรใน
โลก ความอัศจรรย์ทั้งหลายอย่างอื่น ที่น่าประหลาด
น่าขนลุกชัน ยังมีเป็นอันมาก.
แก้อรรถ
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า กึ เป็นคำค้าน. ตรัสคำว่า เอตํ ทรง
หมายถึงการทำฤทธิ์ต่างๆ นี้. บทว่า ยํ ความว่า ศัพท์ว่า ยํ นี้ ใช้ในอรรถทุติยา
วิภัตติได้ในประโยคเป็นต้นว่า ยํ ตํ อปุจฺฉิมฺห อกิตฺตยีโน อญฺญํ ตํ
ปุจฺฉาม ตทิงฺฆ พฺรูหิ ข้าพระองค์ทูลถามปัญหานั้นใด ก็ตรัสตอบแก่ข้าพระองค์
ข้าพระองค์จะทูลถามปัญหาอื่นนั้น ขอโปรดตอบปัญหานั้นด้วย, ใช้ในอรรถว่า
เหตุได้ในประโยคนี้ อฏฺฐานเมตํ ภิกฺขเว อนวกาโส ยํ เอกิสฺสา โลกธาตุ-
ยา เทฺว อรหนฺโต สมฺมาสมฺพุทฺธา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุใด พระ-
อรหันตสัมมาสัมพุทธแห่งโลกธาตุเดียว มี ๒ พระองค์ เหตุนั้น ไม่เป็นฐานะ
ไม่เป็นโอกาส, ใช้ในอรรถสัตตมีวิภัตติ ได้ในประโยคนี้ว่า ยํ วิปสฺสี ภควา
กปฺเป อุทปาทิ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่าวิปัสสี เสด็จอุบัติในกัปใด,
ใช้ในอรรถปฐมาวิภัตติอาทิผิด สระ ได้ในประโยคเป็นต้นว่า ยํ โข เม ภนฺเต เทวานํ
ตาวตึสานํ สมฺมุขา สุตํ สมฺมุขา ปฏิคฺคหิตํ, อาโรเจมิ ตํ ภควโต
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เรื่องใด ข้าพระองค์ได้ยินมาต่อหน้ารับมาต่อหน้าทวย-
เทพชั้นดาวดึงส์ ข้าพระองค์จะทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า, แม้ในที่นี้
ก็พึงเห็นว่าใช้ในอรรถปฐมาวิภัตติ. ทรงแสดงว่าความอัศจรรย์ทั้งหลายอย่างอื่น
ของเรา ที่แปลกประหลาดพิเศษยังมีเป็นอันมาก.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 74/156/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระยาคชสารตัวประเสริฐ เผือกผ่อง อันเป็น
ช้างมงคลอุดม พราหมณ์ทั้งหลายขอสิ่งใด
กะเรา เราย่อมให้สิ่งนั้นไม่หวั่นไหวเลย เรา
ไม่ซ่อนเร้นของที่มีอยู่ ใจของเรายินดีในทาน
เมื่อยาจกมาถึงแล้ว การห้าม คือ การไม่ให้
ไม่สมควรแก่เรา กุศลสมาทานของเราอย่า
ทำลายเสีย เราจักให้คชสารตัวประเสริฐ เรา
ได้จับงวงพระยาคชสาร วางลงบนมือพราหมณ์
แล้วจึงหลั่งอาทิผิด อาณัติกะน้ำเต้าทองลงบนมือ ได้ให้พระยา
คชสารแก่พราหมณ์ เมื่อเราให้พระยามงคล
คชสารอันอุดม เผือกผ่อง อีก แม้ในกาลนั้น
แผ่นดินเขาสิเนรุราช และป่าหิมพานต์ ก็ได้
หวั่นไหว เพราะเราให้พระยาคชสารนั้น ชาว
พระนครสีพีพากันโกรธเคือง มาประชุมกัน
แล้ว ขับไล่เราจากแว่นแคว้นของตนว่า จง
ไปยังภูเขาวงกต เมื่อชาวพระนครเหล่านั้น
ขับไล่ จิตของเราไม่หวั่นไหว ไม่หดหู่ เรา
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 74/162/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
มารดาและพระบิดาทั้งสองผู้เป็นที่เคารพด้วย
หิริและโอตตัปปะ แม้ในกาลนั้น แผ่นดิน
เขาสิเนรุอาทิผิด สระราช และป่าหิมพานต์ ก็หวั่นไหว
อีกครั้งหนึ่ง เรากับบรรดาพระญาติของเราออก
จากป่าใหญ่ จักเข้าสู่พระนครเชตุดร อันเป็น
นครน่ารื่นรมย์ แก้ว ๗ ประการตกลงแล้ว
มหาเมฆยังฝนให้ตก (มหาเมฆยังฝนแก้ว
๗ ประการให้ตกลง) แม้ในกาลนั้นแผ่นดิน
เขาสิเนรุอาทิผิด สระราช และป่าหิมพานต์ ก็หวั่นไหว
แม้แผ่นดินนี้ไม่มีจิตใจ ไม่รู้สุขและทุกข์
ก็หวั่นไหวถึง ๗ ครั้ง เพราะกำลังแห่งทาน
ของเรา ฉะนั้นแล.
จบ เวสสันตรจริยาอาทิผิด อักขระที่ ๙
อรรถกถาเวสสันตรจริยาที่ ๙
พึงทราบวินิจฉัยในอรรถกถาอาทิผิด สระเวสสันตรจริยาที่ ๙ ดังต่อไปนี้. บทว่า
เม ในบทนี้ว่า ยา เม อโทสิ ชนิกา นางกษัตริย์พระนามว่าผุสดี
พระชนนีของเรา พระศาสดาตรัสหมายถึงพระองค์ครั้งเป็นพระเวสสันดร
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 65/258/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า อุปธิวิเวโก ได้แก่ ความว่างเปล่าแห่งอุปธิกล่าวคือกิเลส
ขันธ์และอภิสังขาร.
เพื่อจะแสดงอุปธิก่อน พระสารีบุตรเถระจึงกล่าวคำเป็นต้นว่า
อุปธิ วุจฺจนฺติ กิเลสา จ ดังนี้.
กิเลสทั้งหลายมีราคะเป็นต้น เกิดขึ้นแก่ผู้ใดย่อมทำผู้นั้นให้เดือด
ร้อนให้ลำบากด้วย เบญจขันธ์มีรูปเป็นต้น เป็นอารมณ์ของอุปาทานด้วย
ปุญญาภิสังขาร อปุญญาภิสังขารและอเนญชาภิสังขารด้วย ชื่อ อุปธิ.
บทว่า อมตํ ความว่า นิพพานชื่อว่า อมตะ เพราะอรรถว่า
ไม่มีมตะกล่าวคือความตาย.
ชื่อว่า อมตะ เพราะอรรถว่า เป็นยา เพราะเป็นปฏิปักษ์ต่อพิษ
คือกิเลส ก็มี.
ตัณหา ท่านเรียกว่า วานะ เพราะอรรถว่า เย็บ คือร้อยรัดเหล่า
สัตว์ไว้ในสงสาร กำเนิด คติ อุปบัติ วิญญาณฐีติและสัตตาวาสทั้งหลาย.
ชื่อว่า นิพพาน เพราะอรรถว่า ไม่มีกิเลสเป็นเครื่องร้อยรัดใน
นิพพานนั้น.
บทว่า วูปกฏฺฐกายานํ ได้แก่ ผู้มีสรีระปราศจากการคลุกคลีใน
หมู่.
บทว่า เนกฺขมฺมาภิรตานํ ได้แก่ ผู้ยินดียิ่งในเนกขัมมะคือปฐม
ณานเป็นต้น ที่ออกจากกามเป็นต้น คือ ผู้น้อมไปในเนกขัมมะอาทิผิด อักขระนั้น.
บทว่า ปรมโวทานปฺปตฺตานํ. ได้แก่ ผู้บรรลุผลคือความเป็นผู้
บริสุทธิ์สูงสุดตั้งอยู่. อาจารย์บางพวกพรรณนาอย่างนี้ว่า ผู้มีจิตบริสุทธิ์
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 2/660/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ข้อว่า โกญฺจํ กโรนฺตานํ ความว่า ยืนอยู่ริมฝั่งแม่น้ำอาทิผิด สระสอดงวง
เข้าในปากแล้ว ทำเสียงดังนกกระเรียน.
คำว่า สทฺทํ อสฺโสสึ ความว่า เราได้ยินเสียงโกญจนาทนั้น.
ข้อว่า อตฺเถโส ภิกฺขเว สมาธิ โส จ โข อปริสุทฺโธ
ความว่า สมาธินั่นของโมคคัลลานะ มีอยู่, แต่สมาธินั้นแล เป็นของไม่บริสุทธิ์.
ได้ยินว่า พระเถระ ในวันที่ ๗ แต่เวลาบวช ได้บรรลุพระอรหัตผลในวันนั้น
ยังไม่มีวสี (ความชำนาญ) อันประพฤติแล้ว ด้วยอาการ ๕ อย่าง ในสมาบัติ
๘ ยังมิได้ยังธรรมอันเป็นข้าศึกอาทิผิด อักขระต่อสมาธิให้บริสุทธิ์ด้วยดี นั่งเข้าจตุตถฌานแน่ว
แน่ กระทำให้มีเพียงแต่สัญญาแห่งการนึก การเข้า การตั้งใจ การออก และ
การพิจารณาเท่านั้น ออกจากองค์ฌานแล้ว ได้ยินเสียงแห่งช้างทั้งหลาย ได้
มีความสำคัญอย่างนี้ว่า เราได้ยินเสียงภายในสมาบัติ ดังนี้. ด้วยเหตุนั้น พระ
ผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! สมาธินั่น มีอยู่, แต่สมาธินั้นแล
ไม่บริสุทธิ์.
[เรื่องพระโสภิตะ]
ในเรื่องพระโสภิตะ พึงทราบวินิจฉัยดังต่อไปนี้ :- ข้อว่า อหํ
อาวุโส ปญฺจกปฺปสตานิ อนุสฺสรามิ ความว่า พระเถระกล่าวว่า เรา
ระลึกชาติได้ ด้วยอาวัชชนจิตเดียว. ก็เมื่อถือเอาความอีกอย่างหนึ่ง การระลึก
ถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในอดีตนั้น ๆ ด้วยอาวัชชนจิตต่าง ๆ กัน โดยลำดับ ของ
พระสาวกทั้งหลาย ไม่น่าอัศจรรย์ ; เพราะฉะนั้น ภิกษุทั้งหลายจึงไม่ยกโทษ.
แต่เพราะพระโสภิตะนั้นกล่าวว่า เราระลึกชาติได้ด้วยอาวัชชนจิตเดียว ดังนี้ ;
เพราะฉะนั้น ภิกษุทั้งหลาย จึงยกโทษ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/442/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทั้งหลายเป็นอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพ
เป็นปัจจัย จึงมีชาติ (เพราะชาติเป็นปัจจัยจึงมีชราและมรณะ)๑ ดังนี้.
แสดงปฏิจจสมุปบาทอย่างที่ ๓
เหมือนอย่างว่า ในบุรุษเหล่านั้น คนหนึ่งเห็นปลายเถาวัลย์ก่อนเขา
จึงจับปลายสาวเอามาทั้งเถาจนถึงโคนตามแนวของปลายแล้วนำไปใช้ ฉันใด
พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ฉันนั้น ย่อมทรงแสดงปฏิจจสมุปบาทอาทิผิด สระตั้งแต่ข้อปลายจนถึง
แม้ข้อต้นว่า ชาติปจฺจยา ชรามรณนฺติ อิติ โข ปเนตํ ฯเปฯ อวิชฺชา-
ปจฺจยา สํขารา ก็ข้อว่า ชราและมรณะมี เพราะชาติเป็นปัจจัย
ดังนี้นั้น เรากล่าวแล้ว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะชาติเป็นปัจจัย
ชราและมรณะจึงมี ในข้อนี้ เป็นอย่างนี้หรือมิใช่(พวกภิกษุกราบทูล
ว่า) พระพุทธเจ้าข้าอาทิผิด เพราะชาติเป็นปัจจัย ชราและมรณะจึงมี ใน
ข้อนี้ มีความเป็นอย่างนี้แลว่า เพราะชาติปัจจัย จึงมีชรามรณะ
ก็ข้อที่ว่า ชาติมีเพราะภพเป็นปัจจัย ดังนี้นั้นเรากล่าวอาทิผิด อักขระแล้ว ฯลฯ
(พระผู้มีพระภาคเจ้า) ก็ข้อที่ว่า เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร
ทั้งหลาย ดังนี้นั้น เรากล่าวแล้ว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะอวิชชา
เป็นปัจจัยจึงมีสงขารทั้งหลาย ในข้อนี้ เป็นอย่างนี้ หรือมิใช่ (พวก
ภิกษุ) พระพุทธเจ้าข้า เพราะอวิชชาเป็นปัจจัยจึงมีสังขาร ในข้อนี้
ก็เป็นอย่างนี้ว่า เพราะอวิชชาเป็นปัจจัยจึงมีสังขารทั้งหลาย๒ดังนี้
๑. ม. มูล. เล่ม ๑๒. ๔๕๓/๔๘๘ ๒. ม. มูล. เล่ม ๑๒. ๔๔๗/๔๘๐
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 70/152/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระสัพพัญญุตญาณที่โพธิมัณฑ์นี้ พึงทราบว่า ชื่อว่า อวิทูเรนิทาน ด้วย
ประการฉะนี้.
จบอวิทูเรนิทานกถา
สันติเกนิทานกถา
ก็สันติเกนิทาน ท่านกล่าวว่า ย่อมได้เฉพาะในที่นั้น ๆ อย่างนี้ว่า
“สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ในพระเชตวันอันเป็นอารามของ
ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้กรุงสาวัตถี” ดังนี้ และว่า “ ประทับอยู่
ในกูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน ใกล้กรุงเวสาลี” ดังนี้, ท่านกล่าวไว้อย่างนี้.
ก็จริง แต่ถึงอย่างนั้น สันติเกนิทานแม้นั้น พึงทราบตั้งแต่ต้นอย่างนี้.
ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประทับนั่งบนชยบัลลังก์ ทรงเปล่งอุทาน
แล้วได้มีพระดำริอย่างนี้ว่า เราแล่นไปถึงสี่อาทิผิด สระอสงไขยแสนกัป ก็เพราะเหตุ
บัลลังก์นี้ เพราะเหตุบัลลังก์นี้แหละ เราได้ตัดศีรษะอันประดับแล้วที่คอ
ให้ไปแล้ว ตลอดกาลมีประมาณเท่านี้ เราควักนัยน์ตาที่หยอดดีแล้ว และ
เชือดหทัยให้ไปแล้ว ให้บุตรเช่นกับชาลีกุมาร ให้ธิดาเช่นกับกัณหาชินา
กุมารีและให้ภริยาเช่นกับพระมัทรีเทวี เพื่อเป็นทาสของคนอื่น ๆ บัลลังก์
ของเรานี้ เป็นบัลลังก์ชัย เป็นบัลลังก์มั่นคง เมื่อเรานั่งบนบัลลังก์นี้แล้ว
ความดำริเต็มบริบูรณ์ เราจักไม่ออกจากบัลลังก์นี้ก่อน ดังนี้ พระองค์จึง
ประทับนั่งเข้าสมาบัติหลายแสนโกฏิ ณ บัลลังก์นั้นนั่นแหละตลอด ๗ วัน
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 70/160/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ให้ทรงแสดงธรรม โดยนัยเป็นต้นว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มี-
พระภาคเจ้าจงทรงแสดงธรรม.
พระศาสดาทรงให้ปฏิญญาแก่ท้าวสหัมบดีพรหมนั้น แล้วทรงดำริ
อยู่ว่า เราควรแสดงธรรมกัณฑ์แรก แก่ใครหนอ ทรงยังพระดำริให้เกิด
ขึ้นว่า อาฬารดาบส เป็นบัณฑิต เธอจักรู้ธรรมนี้ได้เร็วพลัน จึงทรง
ตรวจดูอีก ทรงทราบว่าอาฬารดาบสนั้นกระทำกาละได้ ๗ วันแล้ว จึง
ทรงรำพึงถึง อุทกดาบส ได้ทรงทราบว่า แม้อุทกดาบสนั้นก็ได้กระทำ
กาละเสียเมื่อพลบค่ำอาทิผิด อาณัติกะวานนี้ จึงทรงมนสิการปรารภถึง พระปัญจวัคคีย์
ว่าภิกษุปัญจวัคคีย์มีอุปการะมากมายแก่เรา จึงทรงรำพึงว่า บัดนี้ ภิกษุ
ปัญจวัคคีย์เหล่านั้น อยู่ที่ไหนหนอ ได้ทรงทราบว่า อยู่ในป่าอิสิปตนมิค-
ทายวัน แขวงเมืองพาราณสี จึงเสด็จเที่ยวบิณฑบาตไปรอบ ๆ โพธิ-
มัณฑ์ประทับอยู่ ๒ - ๓ วัน แล้วทรงดำริว่า ในวันเพ็ญเดือน ๘ เราจัก
ไปเมืองพาราณสี ประกาศพระธรรมจักร จึงในดิถีอาทิผิด อักขระที่ ๑๔ ค่ำแห่งปักษ์
เวลาปัจจุสมัยใกล้รุ่ง เมื่อราตรีสว่างตั้งขึ้นแล้ว พอเช้าตรู่ ทรงถือบาตร
และจีวรเสด็จดำเนินสิ้นหนทาง ๑๘ โยชน์ ในระหว่างทาง ทรงพบ
อุปกอาชีวก จึงตรัสบอกถึงความที่พระองค์เป็นพระพุทธเจ้าแก่อุปก-
อาชีวกนั้น แล้วเสด็จถึงป่าอิสิปตนะในเวลาเย็นวันนั้นเอง.
พระปัญจวัคคีย์เห็นพระตถาคตเสด็จมาแต่อาทิผิด อักขระไกล ได้กระทำกติกากัน
ว่า นี่แน่ะอาวุโสทั้งหลาย พระสมณโคดมนี้เวียนมาเพื่อความเป็นผู้มักมาก
ในปัจจัย มีร่างกายสมบูรณ์ มีอินทรีย์ผ่องใส มีวรรณดุจทอง กำลัง
เสด็จมา พวกเราจักไม่ทำสามีจิกรรม มีการไหว้เป็นต้นแก่พระสมณโคดม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 18/569/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
กายนั้นเอง. พวกมนุษย์เห็นเขาแล้วคิดว่า สมณะนี้เป็นพระอรหันต์ ผู้มักน้อย
ผู้ที่จะเสมอเหมือนกับสมณะนี้ไม่มี จึงถือเอาของหวานและของคาวเป็นต้นเข้า
ไปหา. เขาคิดว่า เรื่องนี้เกิดขึ้นเพราะเราไม่นุ่งผ้า ตั้งแต่นั้นมาถึงได้ผ้าก็ไม่
นุ่ง เขาได้ถือเอาการไม่นุ่งผ้านั้นนั่นแหละเป็นบรรพชา. แม้ผู้คนอื่น ๆ รวม
๕๐๐ คน ก็บวชในสำนักของเขา ท่านหมายเอาเจ้าลัทธิผู้นั้นจึงกล่าวว่า ปูรณ
กัสสปะ. คำว่า มกฺขลิ เป็นชื่อของเจ้าลัทธิอาทิผิด อักขระนั้น. คำว่า โคสาโล เป็นชื่อ
ที่ ๒ เพราะเกิดในโรงโค. ได้ยินว่า เขาถือหม้อน้ำมันกำลังเดินไปบนพื้นดิน
ที่มีโคลน นายบอกว่า อย่าลื่นนะพ่อ. เขาลื่นล้มลงด้วยความเผลอเรอ เริ่ม
จะหนีไปเพราะกลัวนาย. นายวิ่งไปจับชายผ้าไว้ทัน เขาทิ้งผ้าไม่มีผ้าติดตัว
หนีไป. คำที่เหลือเหมือนกับเจ้าลัทธิปุรณะนั้นแล. คำว่า อชิตะ เป็น
ชื่อของเจ้าลัทธินั้น. เขาชื่อว่า เกสกัมพล เพราะครองผ้าผมคน.
เหตุนั้น เขาจึงรวมชื่อทั้งสองเรียกว่าอชิตะ เกสกัมพล. ในคำนั้น ผ้ากัมพล
ที่เขาทำด้วยผมมนุษย์ ชื่อว่า เกสกัมพล ขึ้นชื่อว่าผ้าที่เลวกว่าผ้าเกสกัมพล
นั้นไม่มี. เหมือนอย่างที่ตรัสไว้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหมือนอย่างว่า ผ้า
ที่ร้อยด้วยด้ายชนิดใดชนิดหนึ่ง ผ้ากัมพลท่านกล่าวว่า เลวกว่าผ้าเหล่านั้น
ภิกษุทั้งหลาย ผ้าเกสกัมพลเมื่อเย็นก็เย็น เมื่อร้อนก็ร้อน มีสีทราม มีกลิ่นเหม็น
และมีสัมผัสไม่สบาย. คำว่า ปกุโธ เป็นชื่อของเจ้าลัทธินั้น. คำว่า กจฺจายโน
เป็นโคตร. ท่านรวมทั้งนามและโคตร เรียกว่า ปกุธ กัจจายนะ. เจ้าลัทธิ
นั้นเป็นผู้ห้ามน้ำเย็น แม้จะถ่ายอุจจาระก็ไม่ใช้น้ำ. ได้น้ำร้อนหรือน้ำข้าวจึงใช้.
เขาเดินผ่านแม่น้ำ หรือน้ำในทางก็คิดว่า เราศีลขาดแล้ว ก่อทรายทำเป็นสถูป
อธิษฐานศีลเดินต่อไป ปกุธกัจจายนะผู้นี้เป็นเจ้าลัทธิที่ไม่มีศักดิ์ศรีเห็นปานนี้.
คำว่า สญฺชโย เป็นชื่อของเจ้าลัทธินั้น. ชื่อว่า เวลฎัฐบุตร เพราะเป็น
บุตรของเวลัฏฐ. เจ้าลัทธิชื่อว่า นิคันถะ โดยได้นามเพราะพูดอย่างนี้ว่า
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 26/680/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ภาคเจ้า... ได้ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ลาภสักการะและความสรร-
เสริญ ทารุณ เผ็ดร้อน หยาบคาย เป็นอันตรายแก่การบรรลุธรรมอัน
เกษมจากโยคะ ซึ่งไม่มีธรรมอื่นยิ่งไปกว่า.
[๕๙๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรากำหนดใจด้วยใจแล้ว ย่อมรู้
บุคคลบางคนในโลกนี้ อย่างอาทิผิด อักขระนี้ว่า แม้เพราะเหตุแห่งมารดา ท่านผู้นี้ก็ไม่จงใจ
พูดมุสา แต่สมัยต่อมา เราเห็นเขาถูกลาภสักการะและความสรรเสริญ
ครอบงำย่ำยีจิตแล้ว ก็กล่าวมุสาทั้งที่รู้ได้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ลาภ
สักการะและความสรรเสริญ ทารุณ เผ็ดร้อน หยาบคาย เป็นอันตราย
แก่การบรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะ ซึ่งไม่มีธรรมอื่นยิ่งไปกว่า ภิกษุ
ทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแหละ เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราทั้งหลาย
จักละลาภสักการะและความสรรเสริญที่เกิดขึ้นแล้วเสีย และลาภสักการะ.
และความสรรเสริญที่เกิดขึ้น ก็จักครอบงำอาทิผิด อักขระจิตของพวกเราตั้งอยู่ไม่ได้
ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอพึงศึกษาอย่างนี้แหละ.
จบมาตุสูตรที่ ๗
อรรถอาทิผิด อักขระกถามาตุสูตรที่ ๗
พึงทราบวินิจฉัยในมาตุสูตรที่ ๗ ดังต่อไปนี้.
บทว่า มาตุปิ เหตุ ความว่า เขาถูกพวกโจรถามในดงอย่างนี้ว่า
ถ้าท่านพูดเท็จ เราจักปล่อยมารดาของท่าน ถ้าไม่พูดเท็จ เราจักไม่ปล่อย
ดังนี้ ไม่พึงพูดเท็จทั้งที่รู้อยู่ เพระเหตุแม้แห่งมารดาอาทิผิด สระ เพราะมารดานั้นอยู่
ในเงื้อมมือของโจร. แม้ในบทอื่นแต่นี้ ก็มีนัยเหมือนกันแล.
จบอรรถกถามาตุสูตรที่ ๗
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/73/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พูดเปรยกระทบกิเลสทราม ว่ามีบางพวก
. . .มีอนุปสัมบันในพระธรรมวินัยนี้ บางพวกถูกราคะกลุ้มรุม บางพวก
ถูกโทสะย่ำยี บางพวกถูกโมหะครอบงำ ดังนี้เป็นต้น ต้องอาบัติทุกกฏ ทุก ๆ
คำพูด.
พูดเปรยกระทบกิเลสอุกฤษฏ์ ว่ามีบางพวก
. . .มีอนุปสัมบันในพระธรรมวินัยนี้ บางพวกปราศจากราคะ บาง
พวกปราศจากโทสะ บางพวกปราศจากโมหะ ดังนี้เป็นต้น ต้องอาบัติทุกกฏ
ทุก ๆ คำพูด.
พูดเปรยกระทบอาบัติทราม ว่ามีบางพวก
. . .มีอนุปสัมบันอาทิผิด อักขระในพระธรรมวินัยนี้ บางพวกต้องอาบัติปาราชิก
บางพวกต้องอาบัติสังฆาทิเสส บางพวกต้องอาบัติถุลลัจจัย บางพวกต้องอาบัติ
ปาจิตตีย์ บางพวกต้องอาบัติปาฏิเทสนียะ บางพวกต้องอาบัติทุกกฏ บางพวก
ต้องอาบัติ ทุพภาสิต ดังนี้ ต้องอาบัติ ทุกกฏ ทุก ๆ คำพูด.
พูดเปรยกระทบอาบัติอุกฤษฏ์ ว่ามีบางพวก
. . .มีอนุปสัมบันในพระธรรมวินัยนี้ บางพวกถึงโสดาบัติ ดังนี้เป็น
ต้น ต้องอาบัติทุกกฏ ทุก ๆ คำพูด.
พูดเปรยกระทบคำสบประมาททราม ว่ามีบางพวก
. . .มีอนุปสัมบันในพระธรรมวินัยนี้ บางพวกมีความประพฤติอาทิผิด อักขระดังอูฐ
บางพวกมีความประพฤติดังแพะ บางพวกมีความประพฤติดังโค บางพวกมี
ความประพฤติอาทิผิด อักขระดังลา บางพวกมีความประพฤติดังสัตว์ดิรัจฉาน บางพวกมีความ
ประพฤติดังสัตว์นรก สุคติของอนุปสัมบันพวกนั้นไม่มี อนุปสัมบันพวกนั้น
ต้องหวังได้แต่ทุคติ ดังนี้เป็นต้น ต้องอาบัติทุกกฏ ทุก ๆ คำพูด.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 54/167/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ภิกษุณีนั้น แสดงธรรมคือขันธ์ อายตนะและธาตุ
ข้าพเจ้าฟังธรรมนั้นแล้ว ก็โกนผมบวช ข้าพเจ้านั้น
ศึกษาอยู่ ก็ชำระทิพยจักษุให้บริสุทธิ์ ข้าพเจ้ารู้ปุพเพ-
นิวาสญาณ รู้ขันธ์ที่อาศัยอยู่ในชาติก่อน และเจริญ
อนิมิตตอาทิผิด สระสมาธิ ก็มีจิตตั้งมั่นดี มีอารมณ์เดียว มีวิโมกข์
เกิดขึ้นในลำดับ ไม่ยึดมั่น ดับสนิท.
ปัญจขันธ์ ข้าพเจ้ากำหนดรู้แล้ว มีมูลรากอัน
ขาดแล้ว ดำรงอยู่ น่าตำหนิความชราที่น่าชัง บัดนี้
ไม่มีการเกิดอีก.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า รูปสมฺจจเย ได้แก่ ในเรือนร่าง กล่าว
คือรูป. ความจริง รูป ศัพท์นี้ มาในรูปายตนะ ในบาลีว่า จกฺขุญฺจ ปฏิจฺจ
รูเป จ อุปฺปชฺชติ จกฺขุวิญฺญาณํ อาศัยจักษุและรูป จักขุวิญญาณจึง
เกิดดังนี้เป็นต้น, มาในรูปขันธ์ ในบาลีว่า ยงฺกิญฺจิ รูปํ อตีตานาคต-
ปจฺจุปฺปนฺนํ รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นอดีตอนาคตและปัจจุบันดังนี้เป็นต้น.
มาในสภาวะ ในบาลีว่า ปิยรูเป สาตรูเป รชฺชติ ย่อมกำหนัดในปิยรูป
สาตรูป ดังนี้เป็นต้น. มาในอายตนะคือกสิณ ในบาลีว่า พหิทฺธา รูปานิ
ปสฺสติ เห็นรูปในภายนอก ดังนี้เป็นต้น. มาในรูปฌาน ในบาลีว่า รูปี
รูปานิ ปสฺสติ ผู้มีรูปเป็นอารมณ์ย่อมเห็นรูปทั้งหลายดังนี้เป็นต้น. มาใน
รูปกาย ในบาลีว่า อฏฺฐิญฺจ ปฏิจฺจ นหารุญฺจ ปฏิจฺจ มํสญฺจ ปฏิจฺจ
จมฺมญฺจ ปฏิจฺจ อากาโส ปริวาริโต รูปนฺเตฺวว สงฺขยํ คจฺฉติ
อากาศอาศัยกระดูก เอ็น เนื้อ หนังห้อมล้อม ก็นับว่าเป็นรูปทั้งนั้นดังนี้เป็นต้น.
แม้ในที่นี้ ก็พึงเห็นความในรูปกายเท่านั้น. แม้สมุสฺสยศัพท์ก็เป็นปริยายของ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 54/183/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สองคาถาว่า จิณฺณา เป็นอาทิ เป็นคาถาแสดงการพยากรณ์พระอรหัต.
บรรดาบทเหล่านั้น. บทว่า จิณฺณา องฺคา จ มคธา ความว่า ชนบท
เหล่านั้นใด คือ อังคะ มคธะ กาสี โกสละ แต่ก่อน ข้าพเจ้าบริโภคก้อน
ข้าวของชาวแคว้นอย่างเป็นหนี้ เที่ยวจาริกไป นับตั้งแต่พบกับพระศาสดา
ข้าพเจ้าไม่เป็นหนี้ คือไม่มีโทษ ปราศจากกิเลส บริโภคก้อนอาทิผิด อาณัติกะข้าวของชาว
แคว้นมา ๕๐ ปี ในชนบทเหล่านั้นแล.
พระเถรีเมื่อพยากรณ์พระอรหัต โดยมุข คือการระบุบุญวิเศษ แก่
อุบาสกผู้มีใจเลื่อมใสแล้วถวายจีวรแก่ตน จึงกล่าวคาถาสุดท้ายว่า ปุญญฺํ วต
ปสวิ พหุํ ประสบบุญเป็นอันมากหนอเป็นต้น. คาถานั้น ก็รู้ได้ง่ายแล.
จบ อรรถกถาภัททากุณฑลเกสาเถรีคาถา
๑๐. ปฏาจาราเถรีคาถา
[๔๔๘] พระปฏาจาราเถรี ชี้แจงว่า
ผู้ชายทั้งหลาย ไถนาด้วยไถ หว่านเมล็ดพืชลง
ที่พื้นนา ได้ทรัพย์มาเลี้ยงดูบุตรภริยา.
ข้าพเจ้าสมบูรณ์ด้วยศีล ทำตามคำสั่งสอนของ
พระศาสดา ไม่เกียจคร้าน ไม่ฟุ้งซ่าน ไฉนจะไม่
ประสบพบพระนิพพานเล่า.
ข้าพเจ้าล้างเท้า ใส่ใจนิมิตในน้ำ เห็นน้ำล้าง
เท้าไหลจากที่ดอนมาสู่ที่ลุ่ม แต่นั้น ข้าพเจ้าก็ตั้งจิต
พระปิฎกธรรม