Animitta
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 54/167/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ภิกษุณีนั้น แสดงธรรมคือขันธ์ อายตนะและธาตุ
ข้าพเจ้าฟังธรรมนั้นแล้ว ก็โกนผมบวช ข้าพเจ้านั้น
ศึกษาอยู่ ก็ชำระทิพยจักษุให้บริสุทธิ์ ข้าพเจ้ารู้ปุพเพ-
นิวาสญาณ รู้ขันธ์ที่อาศัยอยู่ในชาติก่อน และเจริญ
อนิมิตตอาทิผิด สระสมาธิ ก็มีจิตตั้งมั่นดี มีอารมณ์เดียว มีวิโมกข์
เกิดขึ้นในลำดับ ไม่ยึดมั่น ดับสนิท.
ปัญจขันธ์ ข้าพเจ้ากำหนดรู้แล้ว มีมูลรากอัน
ขาดแล้ว ดำรงอยู่ น่าตำหนิความชราที่น่าชัง บัดนี้
ไม่มีการเกิดอีก.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า รูปสมฺจจเย ได้แก่ ในเรือนร่าง กล่าว
คือรูป. ความจริง รูป ศัพท์นี้ มาในรูปายตนะ ในบาลีว่า จกฺขุญฺจ ปฏิจฺจ
รูเป จ อุปฺปชฺชติ จกฺขุวิญฺญาณํ อาศัยจักษุและรูป จักขุวิญญาณจึง
เกิดดังนี้เป็นต้น, มาในรูปขันธ์ ในบาลีว่า ยงฺกิญฺจิ รูปํ อตีตานาคต-
ปจฺจุปฺปนฺนํ รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นอดีตอนาคตและปัจจุบันดังนี้เป็นต้น.
มาในสภาวะ ในบาลีว่า ปิยรูเป สาตรูเป รชฺชติ ย่อมกำหนัดในปิยรูป
สาตรูป ดังนี้เป็นต้น. มาในอายตนะคือกสิณ ในบาลีว่า พหิทฺธา รูปานิ
ปสฺสติ เห็นรูปในภายนอก ดังนี้เป็นต้น. มาในรูปฌาน ในบาลีว่า รูปี
รูปานิ ปสฺสติ ผู้มีรูปเป็นอารมณ์ย่อมเห็นรูปทั้งหลายดังนี้เป็นต้น. มาใน
รูปกาย ในบาลีว่า อฏฺฐิญฺจ ปฏิจฺจ นหารุญฺจ ปฏิจฺจ มํสญฺจ ปฏิจฺจ
จมฺมญฺจ ปฏิจฺจ อากาโส ปริวาริโต รูปนฺเตฺวว สงฺขยํ คจฺฉติ
อากาศอาศัยกระดูก เอ็น เนื้อ หนังห้อมล้อม ก็นับว่าเป็นรูปทั้งนั้นดังนี้เป็นต้น.
แม้ในที่นี้ ก็พึงเห็นความในรูปกายเท่านั้น. แม้สมุสฺสยศัพท์ก็เป็นปริยายของ
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论