星期三, 一月 31, 2018

Satsada

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 27/21/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ความกระวนกระวาย ความทะยานอยากในรูป เวทนา สัญญา สังขาร
และวิญญาณ ยังไม่ปราศจากไปแล้ว โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและ
อุปายาสย่อมเกิดขึ้นเพราะรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ
แปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พระศาสดา
ของเราทั้งหลายทรงเห็นโทษนี้แล จึงตรัสสอนให้กำจัดฉันทราคะในรูป
เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย
แม้เมื่อท่านทั้งหลายพยากรณ์อย่างนี้แล กษัตริย์ผู้เป็นบัณฑิตบ้าง
พราหมณ์ผู้เป็นบัณฑิตบ้าง คฤหบดีผู้เป็นบัณฑิตบ้าง สมณะผู้เป็น
บัณฑิตบ้าง พึงถามปัญหายิ่งขึ้นไป ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็มนุษย์
ทั้งหลายที่เป็นบัณฑิต จะทดลองถามว่า ก็พระศาสดาอาทิผิด อักขระของท่านผู้มีอายุ
ทั้งหลาย ทรงเห็นอานิสงส์อะไร จึงตรัสสอนให้กำจัดฉันทราคะในรูป
เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ท่านทั้งหลายถูกถามอย่างนี้แล้ว
พึงพยากรณ์อย่างนี้ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย เมื่อบุคคลมี
ความกำหนัด ความพอใจ ความรัก ความกระหาย ความกระวนกระวาย
ความทะยานอยากในรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ
ปราศจากไปแล้ว โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสย่อม
ไม่เกิดขึ้นเพราะรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ แปรปรวน
เป็นอย่างอื่นไป ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พระศาสดาของเราทั้งหลาย
ทรงเห็นอานิสงส์นี้แล จึงตรัสสอนให้กำจัดฉันทราคะในรูป เวทนา
สัญญา สังขาร และวิญญาณ.
[๙] ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็เมื่อบุคคลเข้าถึงอกุศลธรรม
ทั้งหลายอยู่ จักได้มีการอยู่สบาย ไม่มีความลำบาก ไม่มีความคับแค้น
ไม่มีความเดือดร้อน ในปัจจุบันนี้ และเมื่อตายไปแล้ว ก็พึงหวังสุคติไซร้
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 一月 30, 2018

Withit

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 24/58/1  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถาอัปปฏิวิทิตอาทิผิด สระสูตร

พึงทราบวินิจฉัยในสูตรที่ ๗ ต่อไป :-
บทว่า ธมฺมา ได้แก่ สัจจธรรม ๔.
บทว่า อปฺปฏิวิทิตา ได้แก่ ยังมิได้แทงตลอดด้วยญาณ.
บทว่า ปรวาเทสุ ได้แก่ ในวาทะอัน ประกอบด้วยทิฏฐิ ๖๒ จริงอยู่
วาทะเหล่านั้น ชื่อว่า วาทะของชนพวกอื่น เพราะเป็นวาทะของพวกเดียรถีย์
อื่น นอกจากวาทะในศาสนานี้.
บทว่า นียเร ได้แก่ ย่อมเคลื่อนไปตามธรรมดาของตนอาทิผิด อักขระบ้าง บุคคล
อื่นย่อมจูง (นำ) ไปบ้าง ในบทเหล่านั้น เมื่อถือเอาวาทะว่าเที่ยง เป็นต้นเอง
ชื่อว่า ย่อมเคลื่อนไป. เมื่อถือเอาวาทะว่าเที่ยงนั้น ตามถ้อยคำของผู้อื่น ชื่อว่า
ถูกผู้อื่นจูงไป. บทว่า กาโล เตสํ ปพุชฺฌิตุํ อธิบายว่า กาลนี้ เป็นกาล
สมควรเพื่อจะตื่นของบุคคลเหล่านั้น. จริงอยู่ พระพุทธเจ้าทรงอุบัติขึ้นในโลก
พระธรรมอันพระองค์ย่อมทรงแสดง พระสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว ทั้งปฏิปทาก็
เจริญ เทวดาจึงกล่าวว่า ก็มหาชนเหล่านี้หลับแล้วในวัฏฏะ ยังไม่ตื่น ดังนี้.
ในบทว่า สมฺพุทฺธา ได้แก่ ผู้ตรัสรู้แล้วโดยชอบ ด้วยเหตุ ด้วย
การณ์. จริงอยู่ ผู้ตรัสรู้ ๔ จำพวก คือ พระสัพพัญญูพุทธะ ปัจเจก-
พุทธะ จตุสัจจพุทธะ และ สุตพุทธะ. ในพุทธะเหล่านั้น ผู้บำเพ็ญ
บารมี ๓๐ ทัศ แล้วบรรลุพระสัมมาสัมโพธิ ชื่อว่า พระสัพพัญญูพุทธะ.
ผู้บำเพ็ญบารมีสิ้น ๒ อสงไขยยิ่งด้วยแสนกัป จึงบรรลุด้วยตนเอง ชื่อว่า
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 一月 29, 2018

Abat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/392/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สัตว์ดิรัจฉานเป็นที่ ๑๐. . . มีภิกษุผู้ทำมาตุฆาตเป็นที่ ๑๐. . . มีภิกษุผู้ทำ
ปิตุฆาตเป็นที่ ๑๐. . . มีภิกษุผู้ทำอรหันตฆาตเป็นที่ ๑๐. . . มีภิกษุผู้ประทุษร้าย
ภิกษุณีเป็นที่ ๑๐ . . . มีภิกษุผู้ทำสังฆเภทเป็นที่ ๑๐ . . . มีภิกษุผู้ทำโลหิตุปบาท
เป็นที่ ๑๐ . . . มีอุภโตพยัญชนกเป็นที่ ๑๐. . . มีภิกษุนานาสังวาสเป็นที่ ๑๐. . .
มีภิกษุอยู่ในสีมาต่างกันเป็นที่ ๑๐ . .. มีภิกษุผู้อยู่ในเวหาสด้วยฤทธิ์เป็นที่ ๑๐
. . . สงฆ์ทำกรรมแก่ผู้ใด มีผู้นั้น เป็นที่ ๑๐ ทำกรรม กรรมนั้นใช้ไม่ได้ และ
ไม่ควรทำ.
กรรมที่สงฆ์ทสวรรคทำ จบ

กรรมที่สงฆ์วีสติวรรคทำ
[๑๙๑] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้ากรรมที่สงฆ์วีสติวรรคทำ สงฆ์มี
ภิกษุณี เป็นที่ ๒๐ ทำกรรม กรรมนั้นใช้ไม่ได้ และไม่ควรทำ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้ากรรมที่สงฆ์วีสติวรรคทำ สงฆ์มีสิกขมานาเป็น
ที่ ๒๐. . . มีสามเณรเป็นที่ ๒๐ . . . มีสามเณรีเป็นที่ ๒๐ . . . มีภิกษุผู้บอก
ลาสิกขาเป็นที่ ๒๐. . . มีภิกษุผู้ต้องอันติมวัตถุเป็นที่ ๒๐. . . มีภิกษุผู้ถูกสงฆ์
ยกเสียฐานไม่เห็นอาบัติอาทิผิด อักขระเป็นที่ ๒๐ . . . มีภิกษุผู้ถูกสงฆ์ยกเสียฐานไม่ทำคืนอาบัติ
เป็นที่ ๒๐. . . มีภิกษุผู้ถูกสงฆ์ยกเสียฐานไม่สละทิฏฐิบาปเป็นที่ ๒๐... มี
บัณเฑาะก์เป็นที่ ๒๐. . . มีภิกษุลักเพศเป็นที่ ๒๐. . . มีภิกษุผู้เข้ารีดเดียรถีย์
เป็นที่ ๒๐. . . มีสัตว์ดิรัจฉานเป็นที่ ๒๐. . . มีภิกษุผู้ทำมาตุฆาตเป็นที่ ๒๐. . .
มีภิกษุผู้ทำปิตุฆาตเป็นที่ ๒๐ . . . มีภิกษุผู้ทำอรหันตฆาตเป็นที่ ๒๐. . . มี
ภิกษุผู้ประทุษร้ายภิกษุณีเป็นที่ ๒๐. . . มีภิกษุผู้ทำสังฆเภทเป็นที่ ๒๐ . . . มี
ภิกษุผู้ทำโลหิตุปบาทเป็นที่ ๒๐. . . มีอุภโตพยัญชนกเป็นที่ ๒๐. . . มีภิกษุ
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 一月 19, 2018

Dang Phroi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 29/50/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถาอัฏฐสตปริยายวรรคที่ ๓

อรรถกถาสิวกสูตรที่ ๑

พึงทราบวินิจฉัยในสิวกสูตรที่ ๑ แห่งวรรคที่ ๓ ดังต่อไปนี้
บทว่า สิวโก ในบทว่า โมฬิยสิวโก เป็นชื่อของปริพาชกนั้น. ก็
จุกของปริพาชกนั้นมีอยู่ เพราะฉะนั้น เขาจึงเรียกว่า สิวกปริพาชกมีจุก.
บทว่า ปริพฺพาชโก ได้แก่ ปริพาชกผู้นุ่งผ้า บทว่า ปิตฺตสมุฏฺฐานานิ
ได้แก่ มีดีเป็นปัจจัย. บทว่า เวทยิตานิ คือเวทนา. เวทนา ๓ ย่อมเกิด
ขึ้นในบุคคลนั้นเพราะดีเป็นปัจจัย. ถามว่า อย่างไร. ตอบว่า ฝ่ายบุคคล
บางคนคิดว่า ดีของเรากำเริบแล้ว ก็แล ชีวิตรู้ได้ยาก ย่อมให้ทาน
สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม. กุศลเวทนา ย่อมเกิดขึ้นแก่บางคนนั้น
ด้วยอาการอย่างนี้. ส่วนบางคนคิดว่า เราจักทำเภสัชแก้ดี ย่อมฆ่าสัตว์
ลักทรัพย์ พูดเท็จ ย่อมทำทุสีลกรรม ๑๐ ก็มี. อกุศลเวทนา ย่อมเกิดขึ้น
แก่บางคนนั้น ด้วยอาการอย่างนี้. แต่บางคนมีตนเป็นกลางว่า ดีของเรา
ย่อมไม่สงบด้วยการทำยา แม้ประมาณเท่านี้ เรื่องยานั้นพอกันที ย่อม
นอนอดกลั้นซึ่งเวทนาทางกาย. อัพยากตเวทนา ย่อมเกิดขึ้นแก่บางคนนั้น
ด้วยอาการอย่างนี้.
บทว่า สามํปิ โข เอตํ ความว่า บุคคลเห็นวิการแห่งดีนั้น ๆ แล้ว
ก็พึงทราบเวทนานั้นได้ด้วยตน. บทว่า สจฺจสมฺมตํ คือสมมติว่าเป็นจริง
ฝ่ายชาวโลกเห็นวิการแห่งดีมีวรรณะด่างพร้อยอาทิผิด อักขระเป็นต้นที่สรีระของเขาแล้ว
ย่อมรู้ว่า ดีของเขากำเริบ. บทว่า ตสฺมา ความว่า เพราะแล่นไปสู่สิ่งที่รู้ด้วย
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 一月 18, 2018

Doi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 30/35/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ที่บุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน มีนิพพานเป็น
เบื้องหน้า มีนิพพานเป็นที่สุด.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนนันทิยะ ธรรม ๘ ประการนี้ ที่
บุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน มีนิพพานเป็น
เบื้องหน้า มีนิพพานเป็นที่สุด ธรรม ๘ ประการเป็นไฉน คือ สัมมาทิฏฐิ ฯลฯ
สัมมาสมาธิ ดูก่อนนันทิยะ ธรรม ๘ ประการนี้ ที่บุคคลเจริญแล้ว กระทำ
ให้มากแล้ว เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน มีนิพพานเป็นเบื้องหน้า มีนิพพานเป็น
ที่สุด.
[๔๖] เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้แล้ว นันทิยปริพาชกได้
กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่ท่านพระโคดม ภาษิตของพระองค์
แจ่มแจ้งนัก ข้าแต่ท่านพระโคดม ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ข้าแต่
ท่านพระโคดม ท่านพระโคดมทรงประกาศธรรมโดยอาทิผิด อักขระอเนกปริยาย เปรียบ
เหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือ
ตามประทีปไว้ในที่มืด ด้วยหวังว่าผู้มีจักษุจักเห็นรูป ฉะนั้น ข้าพระองค์ขอ
ถึงท่านพระโคดม กับทั้งพระธรรมและพระภิกษุสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอท่าน
พระโคดมโปรดทรงจำข้าพระองค์ว่า เป็นอุบาสกถึงสรณะจนตลอดชีวิต จำเดิม
แต่วันนี้เป็นต้นไป.
จบนันทิยสูตรที่ ๑๐
จบอวิชชาวรรคที่ ๑
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 一月 17, 2018

Prathap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 3/96/12  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สมันตปาสาทิกาแปล อรรถกถาพระวินัย
มหาวิภังควรรณนา
ภาค ๒
เตรสกัณฑวรรณนา
เตรสกะ (หมวด ๑๓) ท่านพระธรรมสังคหกาจารย์
ทั้งหลาย ได้ร้อยกรองไว้ในลำดับอาทิผิด อักขระแห่งปาราชิกกัณฑ์
มีการพรรณนาบทที่ยังไม่มีในก่อน ดังต่อไปนี้
สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑
สุกกวิสัฏฐิสิกขาบทวรรณนา
[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องพระเสยยสกะ]
บัณฑิตพึงทราบวินิจฉัยในคำว่า โดยสมัยนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้า
ประทับอาทิผิด อักขระอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคฤหบดี เขตพระ-
นครสาวัตถี. ก็ในสมัยนั้นแล ท่านพระเสยยสกะไม่ยินดีประพฤติ
พรหมจรรย์นี้ ดังต่อไปนี้.
คำว่า อายสฺมา เป็นคำไพเราะ.
บทว่า เสยฺยสโก เป็นชื่อ ของภิกษุรูปนั้น.
คำว่า อนภิรโต ความว่า เป็นผู้มีจิตฟุ้งซ่าน คือ ถูกความ
เร่าร้อนเพราะกำหนัดในกามแผดเผาอยู่ แต่ไม่ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์.
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 一月 15, 2018

Khon

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 18/55/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เดียวบ้าง ๒ ใบบ้าง ฯลฯ ๗ ใบบ้าง กินอาหารที่เก็บค้างไว้วันหนึ่งบ้าง ๒
วันบ้าง ฯลฯ ๗ วันบ้าง เป็นผู้ประกอบด้วยความขวนขวายในการบริโภค
ภัตตาหาร ที่เวียนมาตั้งกึ่งเดือนเช่นนี้บ้าง. เรานั้นเป็นผู้มีผักดองเป็นภักษา
บ้าง มีข้าวฟ่างเป็นภักษาบ้าง มีลูกเดือยเป็นภักษาบ้าง มีกากข้าวเป็นภักษา
บ้าง มียางเป็นภักษาบ้าง มีสาหร่ายเป็นภักษาบ้าง มีรำเป็นภักษาบ้าง มีข้าว
ตังเป็นภักษาบ้าง มีกำยานเป็นภักษาบ้าง มีหญ้าเป็นภักษาบ้าง มีโคมัยเป็น
ภักษาบ้าง มีเหง้าและผลไม้ในป่าเป็นอาหาร บริโภคผลไม้หล่นเยียวยาอัตภาพ.
เรานั้นทรงผ้าป่านบ้าง ผ้าแกมกันบ้าง ผ้าห่อศพบ้าง ผ้าบังสุกุลบ้าง ผ้าเปลือก
ไม้บ้าง หนังเสือบ้าง หนังเสือทั้งเล็บบ้าง ผ้าคากรองบ้าง ผ้าปอบ้าง ผ้า
ผลไม้บ้าง ผ้ากัมพลทำด้วยผมบ้าง ผ้ากัมพลทำด้วยขนสัตว์บ้าง ผ้าทำด้วยขนอาทิผิด อักขระ
ปีกนกเค้าบ้าง เป็นผู้ถอนผมและหนวด คือ ประกอบความขวนขวายในการ
ถอนผมและหนวดบ้าง เป็นผู้ถือยืน คือ ห้ามอาสนะอาทิผิด อักขระบ้าง เป็นผู้กระโหย่ง คือ
ประกอบความเพียรในการกระโหย่ง [เดินกระโหย่งเหยียบพื้นไม่เต็มเท้า] บ้าง
เป็นผู้นอนบนหนาม คือ สำเร็จการนอนบนหนามบ้าง เป็นผู้ประกอบความ
ขวนขวายในการลงน้ำวันละสามครั้งบ้าง เป็นผู้ประกอบความขวนขวายในการ
ย่างและบ่มกายมีประการมิใช่น้อยเห็นปานนี้ ด้วยประการฉะนี้อยู่ ดูก่อนสารี-
บุตร นี้แหละเป็นพรหมจรรย์ของเรา โดยความที่เราเป็นผู้บำเพ็ญตบะ.
พรหมจรรย์เศร้าหมอง
[๑๗๙] ดูก่อนสารีบุตร บรรดาพรหมจรรย์มีองค์ ๔ นั้น พรหม-
จรรย์นี้เป็นวัตรในการประพฤติเศร้าหมองของเรา. มลทินอาทิผิด อักขระ คือ ธุลีละอองสั่ง
สมในกาย เรานับด้วยปีมิใช่น้อย จนเป็นสะเก็ด เปรียบเหมือนตอตะโก มีธุลี
ละอองสั่งสมนับด้วยปีมิใช่น้อย จนเกิดเป็นสะเก็ด ฉันใด มลทินอาทิผิด อักขระ คือ ธุลี
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 一月 14, 2018

Bupphakari

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 14/59/3  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อานุภาพของมหาโควินท์ มหาโควินท์ได้อาทิผิด ทำให้พวกเราเหล่า ๗ ราชาพร้อม
เพรียงกัน แต่งตั้งพวกเราในพื้นชมพูทวีป ก็แล พวกเราไม่ง่ายที่จะทำการ
ตอบสนองแก่มหาโควินท์ผู้เป็นบุพการีอาทิผิด มหาโควินท์นี้แลจงพร่ำสอนพวกเรา
แม้ทั้ง ๗ คน พวกเราจะให้มหาโควินท์นี้แลเป็นแม่ทัพและเป็นที่ปรึกษา
เมื่อเป็นเช่นนี้ พวกเราคงจะมีความเจริญแน่ แล้วก็เข้าไปหา. ถึงมหาโควินท์
ก็คิดว่า เราได้ทำให้พระราชาเหล่านี้สมัครสมานกันแล้ว. หากว่าพระราชา
เหล่านี้จักมีคนอื่นเป็นแม่ทัพและเป็นที่ปรึกษา แต่นั้นพระราชาเหล่านั้นก็จักทรง
ถือถ้อยคำของแม่ทัพและที่ปรึกษาของตน ๆ แล้วแตกกัน เราจะยอมรับทั้ง
ตำแหน่งแม่ทัพและตำแหน่งที่ปรึกษาของพระราชาเหล่านี้แล้วรับว่า อย่างนั้น
พระเจ้าข้า.
บทว่า และพราหมณ์มหาศาล ๗ คน คือ มหาโควินท์มาคิด
ว่า เราจะพึงอยู่เฉพาะพระพักตร์หรือไม่ก็ตาม ในที่ทุกแห่ง พระราชาเหล่านี้
จักทรงปฏิบัติหน้าที่โดยประการที่เราจักไม่อยู่เฉพาะพระพักตร์ได้ แล้วก็แต่ง
ตั้งรองที่ปรึกษาไว้ ๗ คน ท่านหมายเอารองที่ปรึกษา ๗ คนนั้น จึงกล่าว
คำนี้ว่า และพราหมณ์มหาศาล ๗ คน ดังนี้. ชื่อว่าผู้อาบ เพราะอาบน้ำ
วันละสามครั้ง หรืออาบในตอนเย็นและตอนเช้าทุกวัน หรือชื่อว่าอาบแล้ว
ในเพราะจบการประพฤติอาทิผิด อักขระพรต. ชื่อว่าผู้อาบ เพราะตั้งแต่นั้น พวกพราหมณ์
ไม่กินไม่ดื่มร่วมกับพวกพราหมณ์ด้วยกัน .
บทว่า ฟุ้งไป แปลว่า ขึ้นไปสูงอย่างยิ่ง เล่ากันมาว่า ครั้งนั้น
ถ้อยคำนี้แลเป็นไปแล้วแก่คนทั้งหลายในที่ที่นั่งแล้ว ๆ (ในที่นั่งทุกแห่ง) ว่า
คนเราเมื่อได้ปรึกษากับพรหมแล้วก็จะพร่ำสอนได้หมดทั้งชมพูทวีป. บทว่า
แต่เราไม่เลย ความว่า ได้ยินว่า มหาบุรุษ คิดว่า คุณที่ไม่เป็นจริงนี้เกิด
แก่เราแล้ว ก็แลการเกิดคุณขึ้นไม่ใช่ของหนักหนาอะไร แต่การรักษาคุณที่
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 一月 13, 2018

Lamdap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์   6/7/5   ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัยปิฎก
มหาขันธกวรรณนา มหาวรรค
อปโลกถา
พระมหาเถระทั้งหลาย ผู้รู้เนื้อความในขันธกะ ได้สังคายนาขันธกะ
อันใด เป็นลำดับแห่งการสังคายนาปาติโมกข์ทั้ง ๒. บัดนี้ถึงลำดับอาทิผิด อักขระสังวรรณนา
แห่งขันธกะนั้นแล้ว, เพราะฉะนั้น สังวรรณนานี้จึงเป็นแต่อธิบายความยังไม่
ชัดเจนแห่งขันธกะนั้น, เนื้อความเหล่าใด แห่งบทเหล่าใด ข้าพเจ้าทั้งหลาย
ได้ประกาศแล้วในบทภาชนีย์ ถ้าว่าข้าพเจ้าจะต้องกล่าวซ้ำเนื้อความเหล่านั้น
แห่งบทเหล่านั้นอีกไซร้, เมื่อไรจักจบ. ส่วนเนื้อความเหล่าใดชัดเจนแล้ว จะมี
ประโยชน์อะไรด้วยการสังวรรณนาเนื้อความเหล่านั้น. ก็แลเนื้อความเหล่าใด
ยังไม่ชัดเจน ด้วยอธิบายและอนุสนธิ และด้วยพยัญชนะ เนื้อความเหล่านั้น
ไม่พรรณนาไว้ใคร ๆ ก็ไม่สามารถจะทราบได้. เพราะฉะนั้น จึงมีสังวรรณนา
นัยเนื้อความเหล่านั้น ดังนี้:-

อรรถกถาโพธิกถา
ในคำว่า เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา อุรุเวลายํ วิหรติ นชฺชา
เนรญฺชราย ตีเร โพธิรุกฺขมูเล ปฐมาภิสมฺพุทฺโธ นี้.
ถึงจะไม่มีเหตุพิเศษเพราะตติยาวิภัตติ เหมือนในคำที่ว่า เตน สม-
เยน พุทฺโธ ภควา เวรญฺชยํ เป็นต้น ก็จริงแล, แต่โวหารนี้ ท่านยก
ขึ้นด้วยตติยาวิภัตติเหมือนกัน เพราะเพ่งวินัย เพราะฉะนั้น ผู้ศึกษาพึง
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 一月 10, 2018

Puang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 50/13/8  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อย่างเดียว โดยเว้นจากการกำหนดสัตว์ที่เสมอกัน. อธิบายว่า เพราะฉะนั้น
ท่านทั้งหลายจงฟังอาทิผิด คาถาที่คล้ายกับการบันลือสีหนาทอย่างไม่หวั่นกลัว ของ
พระเถระเหล่านั้น เหมือนการบันลือสีหนาทของราชสีห์ ที่เป็นราชาของมฤค
บันลืออยู่ คือ คำรามอยู่ แบบราชสีห์คำรามที่ใกล้ถ้ำภูเขา ของสัตว์ชื่อว่า
มีเขี้ยวทั้งหลาย เพราะมีเขี้ยวประเสริฐ งดงาม โดยความเป็นเขี้ยวที่มั่นคง
แหลมคม. ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า ท่านทั้งหลายจงฟังอาทิผิด คาถา อันกระทำความสะดุ้ง
หวาดเสียวแก่ชนผู้ประมาทแล้ว ชื่อว่าเป็นการบันลืออย่างไม่หวั่นเกรง เพราะ
เหตุแห่งภัยทั้งหลาย ท่านละได้แล้วด้วยดี โดยประการทั้งปวงอาทิผิด อาณัติกะ เช่นเดียวกับ
การบันลือสีหนาทของพระเถระทั้งหลาย ผู้มีตนอันอบรมแล้ว ผู้ไม่ประมาท
แล้ว เหมือนการบันลืออย่างไม่หวั่นเกรงนั้น กระทำอาทิผิด สระความหวาดเสียวแก่มฤค
อื่นจากราชสีห์นั้น เพราะไม่มีภัยแม้แต่ที่ไหน ๆ ของราชสีห์ ที่เป็นราชาแห่ง
หมู่มฤค บันลือสีหนาทอยู่ ฉะนั้น.
บทว่า ภาวิตตฺตานํ ได้แก่ ผู้มีจิตอันอบรมแล้ว. อธิบายว่า จิต
ท่านเรียกว่าตน ดังในประโยคมีอาทิว่า ได้ยินว่าตนแลฝึกได้ยาก ผู้ใดแลมีจิต
ตั้งมั่นแล้ว จะเป็นผู้ซื่อตรงดุจกระสวยทอผ้าฉะนั้น และดุจในประโยคมีอาทิว่า
ตั้งใจไว้ชอบดังนี้. เพราะฉะนั้น จึงได้ความว่า ของพระอริยบุคคลผู้ยังจิตให้
เจริญยิ่งแล้วด้วยสมถะและวิปัสสนา โดยการประกอบเนือง ๆ ซึ่งอธิจิต คือ
ท่านผู้ยังจิตให้ถึงที่สุด แห่งสมถภาวนาและวิปัสสนาภาวนา แล้วดำรงอยู่.
อีกอย่างหนึ่ง บทว่า ภาวิตตฺตานํ ความว่า มีตนอันอบรมแล้วเป็นสภาพ.
อธิบายว่า มีตนอันอบรมแล้วด้วยคุณมีศีลเป็นต้น อันเป็นแล้วตามสภาพ.
ที่ชื่อว่า คาถา เพราะเป็นถ้อยคำอันท่านร้อยกรองไว้ ได้แก่ ถ้อยคำ ๔ บท
หรือ ๖ บท ที่ฤษีทั้งหลายประพันธ์ไว้โดยเป็นฉันท์ มีอนุฏฐุภฉันท์เป็นต้น.
เพราะเหตุที่ ฉันท์แม้อื่น มีลักษณะคล้ายกับอนุฏฐภฉันท์ ท่านจึงเรียกว่า
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 一月 09, 2018

Luk

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 9/179/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บทว่า ทเทยฺย คือ พึงมอบถวาย (หรือเพิ่มถวาย).
ก็แล พึงถวายปัจจัยนั้น ด้วยจิตอันเลื่อมใส ไม่ยังความเลื่อมใสแห่ง
จิตให้คลายเสีย. จริงอยู่ ทายกนั้นจะรู้ทั่วถึงธรรมใดในพระศาสนานี้แล้ว เป็น
ผู้ไม่มีอาสวะ ปรินิพพาน ภิกษุผู้เป็นพหูสูตเหล่านั้น ย่อมแสดงธรรมนั้น ซึ่ง
เป็นเครื่องบรรเทาทุกข์ทั้งปวง แก่เขาผู้มีจิตผ่องใสอย่างนั้น ฉะนี้แล.
[ว่าด้วยลายยูเป็นต้น]
วินิจฉัยในคำว่า อาวิญฉนฉิททํ อาวิญฉนชฺชุํ นี้ มีความว่า
ขึ้นชื่อว่าเชือก แม้ถ้าเป็นของที่ทำด้วยหางเสือ ควรแท้. เชือกบางอย่างไม่
ควรหามิได้.
ดาล ๓ ชนิดนั้น ได้แก่ กุญแจ ๓ อย่าง.
วินิจฉัยในคำว่า ยนตกํ สูจิกํ นี้ว่า ภิกษุควรทำกุญแจยนต์ที่ตน
รู้จัก และลูกกุญแจสำหรับไขกุญแจยนต์นั้น.
ที่ชื่อว่าหน้าต่างสอบบน คล้ายเวทีแห่งเจดีย์
ที่ชื่อว่าหน้าต่างตาข่าย ได้แก่ หน้าต่างที่ขึงข่าย.
มีชื่อว่าหน้าต่างซี่ ได้แก่ หน้าต่างลูกกรงอาทิผิด อักขระ.
ในคำว่า จกกลิกํ นี้ มีความว่า เราอนุญาตให้ผูกผ้าเล็ก ๆ คล้าย
ผ้าเช็ดเท้า.
คำว่า วาตปานภิสิกํ มีความว่า เราอนุญาตให้ทำเสื่อ ได้ขนาด
หน้าต่างผูกไว้.
[ว่าด้วยเตียงและตั่ง]
บทว่า มิฒึ ได้แก่ กระดานตั่ง
บทว่า วิทลมฺจํ ได้แก่ เตียงหวาย หรือเตียงที่สานด้วยตอกไม้ไผ่อาทิผิด .
.
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 一月 08, 2018

Mai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 9/179/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บทว่า ทเทยฺย คือ พึงมอบถวาย (หรือเพิ่มถวาย).
ก็แล พึงถวายปัจจัยนั้น ด้วยจิตอันเลื่อมใส ไม่ยังความเลื่อมใสแห่ง
จิตให้คลายเสีย. จริงอยู่ ทายกนั้นจะรู้ทั่วถึงธรรมใดในพระศาสนานี้แล้ว เป็น
ผู้ไม่มีอาสวะ ปรินิพพาน ภิกษุผู้เป็นพหูสูตเหล่านั้น ย่อมแสดงธรรมนั้น ซึ่ง
เป็นเครื่องบรรเทาทุกข์ทั้งปวง แก่เขาผู้มีจิตผ่องใสอย่างนั้น ฉะนี้แล.
[ว่าด้วยลายยูเป็นต้น]
วินิจฉัยในคำว่า อาวิญฉนฉิททํ อาวิญฉนชฺชุํ นี้ มีความว่า
ขึ้นชื่อว่าเชือก แม้ถ้าเป็นของที่ทำด้วยหางเสือ ควรแท้. เชือกบางอย่างไม่
ควรหามิได้.
ดาล ๓ ชนิดนั้น ได้แก่ กุญแจ ๓ อย่าง.
วินิจฉัยในคำว่า ยนตกํ สูจิกํ นี้ว่า ภิกษุควรทำกุญแจยนต์ที่ตน
รู้จัก และลูกกุญแจสำหรับไขกุญแจยนต์นั้น.
ที่ชื่อว่าหน้าต่างสอบบน คล้ายเวทีแห่งเจดีย์
ที่ชื่อว่าหน้าต่างตาข่าย ได้แก่ หน้าต่างที่ขึงข่าย.
มีชื่อว่าหน้าต่างซี่ ได้แก่ หน้าต่างลูกกรงอาทิผิด อักขระ.
ในคำว่า จกกลิกํ นี้ มีความว่า เราอนุญาตให้ผูกผ้าเล็ก ๆ คล้าย
ผ้าเช็ดเท้า.
คำว่า วาตปานภิสิกํ มีความว่า เราอนุญาตให้ทำเสื่อ ได้ขนาด
หน้าต่างผูกไว้.
[ว่าด้วยเตียงและตั่ง]
บทว่า มิฒึ ได้แก่ กระดานตั่ง
บทว่า วิทลมฺจํ ได้แก่ เตียงหวาย หรือเตียงที่สานด้วยตอกไม้ไผ่อาทิผิด .
.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 一月 04, 2018

Bhava

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 83/126/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
นอนเนื่องอยู่แก่บุคคลเหล่านั้น ณ ที่นั้น, วิจิกิจฉานุสัย และภวราคา-
นุสัย ไม่นอนเนื่องอยู่แก่บุคคลเหล่านั้น ณ ที่นั้น คือแก่บุคคลนั้นนั่น
แหละ ที่เวทนา ๓ ในกามธาตุ ที่อปริยาปันนธรรม วิจิกิจฉานุสัย
และภวราคานุสัย ก็ไม่นอนเนื่องอยู่แก่พระอรหันต์ ณ ที่ทั้งปวง.
ก็หรือว่า ภวราคานุสัย ไม่นอนเนื่องอยู่แก่บุคคลใด ณ ที่ใด,
วิจิกิจฉานุสัย ไม่นอนเนื่องอยู่แก่บุคคลนั้น ณ ที่นั้น ใช่ไหม ?
ภวราคานุสัย ไม่นอนเนื่องอยู่แก่บุคคลนั้น ณ ที่นั้น คือ
แก่ปุถุชน ที่เวทนา ๓ ในกามธาตุ แต่วิจิกิจฉานุสัย ไม่ใช่ไม่นอน-
เนื่องอยู่แก่บุคคลนั้น ณ ที่นั้น, ภวราคานุสัย และวิจิกิจฉานุสัย ไม่
นอนเนื่องอยู่แก่บุคคลนั้น ณ ที่นั้น คือ แก่บุคคลนั้นนั่นแหละ ที่
อปริยาปันนธรรม ภวราคานุสัยอาทิผิด อักขระ และวิจิกิจฉานุสัย ก็ไม่นอนเนื่องอยู่
แก่พระอรหันต์ ณ ที่ทั้งปวง.
จบ วิจิกิจฉานุสยมูละ ภวราคานุสยมูลี

วิจิกิจฉานุสยมูละ อวิชชานุสยมูลี :-
วิจิกิจฉานุสัย ไม่นอนเนื่องอยู่แก่บุคคลใด ณ ที่ใด, อวิชชานุสัย
ก็ไม่นอนเนื่องอยู่แก่บุคคลนั้น ณ ที่นั้น ใช่ไหม ?
วิจิกิจฉานุสัย ไม่นอนเนื่องอยู่แก่บุคคลเหล่านั้น ณ ที่นั้น คือ
แก่บุคคล ๓ จำพวก ที่เวทนา ๒ ในกามธาตุ ที่รูปธาตุ อรูปธาตุ แต่
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 一月 03, 2018

That

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 77/206/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
โสมนัสสธาตุ เป็นไฉน ?
ความสบายใจ ความสุขใจ ความเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขอันเกิด
แต่เจโตสัมผัส กิริยาเสวยอารมณ์ที่สบายเป็นสุขเกิดแต่เจโตสัมผัส นี้เรียกว่า
โสมนัสสธาตุ.
โทมนัสสธาตุอาทิผิด อักขระ เป็นไฉน ?
ความไม่สบายใจ ความทุกข์ใจ ความเสวยอารมณ์ที่ไม่สบายเป็นทุกข์
เกิดแต่เจโตสัมผัส กิริยาเสวยอารมณ์ที่ไม่สบายเป็นทุกข์เกิดแต่เจโตสัมผัส นี้
เรียกว่า โทมนัสสธาตุ.
อุเปกขาธาตุ เป็นไฉน ?
ความสบายใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายใจก็ไม่อาทิผิด สระใช่ ความเสวยอารมณ์ไม่
ทุกข์ไม่สุขเกิดแต่เจโตสัมผัส กิริยาเสวยอารมณ์ไม่ทุกข์ไม่สุขเกิดแต่เจโตสัมผัส
นี้เรียกว่า อุเปกขาธาตุ.
อวิชชาธาตุ เป็นไฉน ?
ความไม่รู้ ความไม่เห็น ฯลฯ* ลิ่มคืออวิชชา อกุศลมูล คือโมหะ
นี้เรียกว่า อวิชชาธาตุ.
สภาวธรรมเหล่านี้เรียกว่า ธาตุ ๖.

ธาตุ ๖ นัยที่ ๓
[๑๒๒] ธาตุ ๖ อีกนัยหนึ่ง คือ
๑. กามธาตุ
๒. พยาปาทธาตุ
* ความที่ ฯลฯ พึงดูในธรรมสังคณีปกรณ์ ข้อ(๓๐๐).
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 一月 02, 2018

Nithan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 66/129/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ธาตุโลก อายตนโลก เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า และชนเหล่าใดแล ย่อม
เที่ยวไปในโลกเพราะความโลภ.
[๔๕๕] คำว่า ความหวังและความสำเร็จหวัง ... มีอะไรเป็น
นิทาน ? ความว่า พระพุทธนิมิตตรัสถาม สอบถาม ขอให้ตรัสบอก
อัญเชิญให้ทรงแสดง ขอให้ประสาทซึ่งมูล ฯลฯ สมุทัยแห่งความหวัง
และความสำเร็จหวังว่า ความหวังและความสำเร็จหวัง มีอะไรเป็นนิทาน
คือ เกิด บังเกิด เกิดพร้อม บังเกิดเฉพาะ ปรากฏมาแต่อะไร คือมีอะไร
เป็นนิทาน มีอะไรเป็นสมุทัย มีอะไรเป็นชาติ มีอะไรเป็นแดนเกิด
เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ความหวังและความสำเร็จหวัง มีอะไรเป็นนิทาน.
[๔๕๖] คำว่า ที่มีแก่นรชนเพื่อข้างหน้า ความว่า ความหวัง
และความสำเร็จหวังที่เป็นไปในเบื้องหน้า เป็นเกาะ เป็นที่ป้องกัน เป็นที่
แอบแฝง เป็นที่ระลึกของนรชน คือ นรชนเป็นผู้มีความสำเร็จหวังเป็น
ไปในเบื้องหน้า เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ที่มีแก่นรชนเพื่อโลกหน้า
เพราะฉะนั้น พระพุทธนิมิตจึงตรัสถามว่า
สิ่งที่รักทั้งหลายในโลก มีอะไรเป็นนิทาน และชน
เหล่าใดแล ย่อมเที่ยวไปในโลกเพราะความโลภ ความ
โลภของชนเหล่านั้นมีอะไรเป็นนิทานอาทิผิด อักขระ อนึ่ง ความหวัง
และความสำเร็จหวังที่มีแก่นรชนเพื่อข้างหน้านั้น มีอะไร
เป็นนิทาน.
[๔๕๗] (พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสตอบว่า) สิ่งที่รักทั้งหลาย
ในโลก มีฉันทะเป็นนิทาน และชนเหล่าใดแล ย่อม
 
พระปิฎกธรรม