星期六, 一月 13, 2018

Lamdap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์   6/7/5   ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัยปิฎก
มหาขันธกวรรณนา มหาวรรค
อปโลกถา
พระมหาเถระทั้งหลาย ผู้รู้เนื้อความในขันธกะ ได้สังคายนาขันธกะ
อันใด เป็นลำดับแห่งการสังคายนาปาติโมกข์ทั้ง ๒. บัดนี้ถึงลำดับอาทิผิด อักขระสังวรรณนา
แห่งขันธกะนั้นแล้ว, เพราะฉะนั้น สังวรรณนานี้จึงเป็นแต่อธิบายความยังไม่
ชัดเจนแห่งขันธกะนั้น, เนื้อความเหล่าใด แห่งบทเหล่าใด ข้าพเจ้าทั้งหลาย
ได้ประกาศแล้วในบทภาชนีย์ ถ้าว่าข้าพเจ้าจะต้องกล่าวซ้ำเนื้อความเหล่านั้น
แห่งบทเหล่านั้นอีกไซร้, เมื่อไรจักจบ. ส่วนเนื้อความเหล่าใดชัดเจนแล้ว จะมี
ประโยชน์อะไรด้วยการสังวรรณนาเนื้อความเหล่านั้น. ก็แลเนื้อความเหล่าใด
ยังไม่ชัดเจน ด้วยอธิบายและอนุสนธิ และด้วยพยัญชนะ เนื้อความเหล่านั้น
ไม่พรรณนาไว้ใคร ๆ ก็ไม่สามารถจะทราบได้. เพราะฉะนั้น จึงมีสังวรรณนา
นัยเนื้อความเหล่านั้น ดังนี้:-

อรรถกถาโพธิกถา
ในคำว่า เตน สมเยน พุทฺโธ ภควา อุรุเวลายํ วิหรติ นชฺชา
เนรญฺชราย ตีเร โพธิรุกฺขมูเล ปฐมาภิสมฺพุทฺโธ นี้.
ถึงจะไม่มีเหตุพิเศษเพราะตติยาวิภัตติ เหมือนในคำที่ว่า เตน สม-
เยน พุทฺโธ ภควา เวรญฺชยํ เป็นต้น ก็จริงแล, แต่โวหารนี้ ท่านยก
ขึ้นด้วยตติยาวิภัตติเหมือนกัน เพราะเพ่งวินัย เพราะฉะนั้น ผู้ศึกษาพึง
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: