星期三, 一月 10, 2018

Puang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 50/13/8  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อย่างเดียว โดยเว้นจากการกำหนดสัตว์ที่เสมอกัน. อธิบายว่า เพราะฉะนั้น
ท่านทั้งหลายจงฟังอาทิผิด คาถาที่คล้ายกับการบันลือสีหนาทอย่างไม่หวั่นกลัว ของ
พระเถระเหล่านั้น เหมือนการบันลือสีหนาทของราชสีห์ ที่เป็นราชาของมฤค
บันลืออยู่ คือ คำรามอยู่ แบบราชสีห์คำรามที่ใกล้ถ้ำภูเขา ของสัตว์ชื่อว่า
มีเขี้ยวทั้งหลาย เพราะมีเขี้ยวประเสริฐ งดงาม โดยความเป็นเขี้ยวที่มั่นคง
แหลมคม. ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า ท่านทั้งหลายจงฟังอาทิผิด คาถา อันกระทำความสะดุ้ง
หวาดเสียวแก่ชนผู้ประมาทแล้ว ชื่อว่าเป็นการบันลืออย่างไม่หวั่นเกรง เพราะ
เหตุแห่งภัยทั้งหลาย ท่านละได้แล้วด้วยดี โดยประการทั้งปวงอาทิผิด อาณัติกะ เช่นเดียวกับ
การบันลือสีหนาทของพระเถระทั้งหลาย ผู้มีตนอันอบรมแล้ว ผู้ไม่ประมาท
แล้ว เหมือนการบันลืออย่างไม่หวั่นเกรงนั้น กระทำอาทิผิด สระความหวาดเสียวแก่มฤค
อื่นจากราชสีห์นั้น เพราะไม่มีภัยแม้แต่ที่ไหน ๆ ของราชสีห์ ที่เป็นราชาแห่ง
หมู่มฤค บันลือสีหนาทอยู่ ฉะนั้น.
บทว่า ภาวิตตฺตานํ ได้แก่ ผู้มีจิตอันอบรมแล้ว. อธิบายว่า จิต
ท่านเรียกว่าตน ดังในประโยคมีอาทิว่า ได้ยินว่าตนแลฝึกได้ยาก ผู้ใดแลมีจิต
ตั้งมั่นแล้ว จะเป็นผู้ซื่อตรงดุจกระสวยทอผ้าฉะนั้น และดุจในประโยคมีอาทิว่า
ตั้งใจไว้ชอบดังนี้. เพราะฉะนั้น จึงได้ความว่า ของพระอริยบุคคลผู้ยังจิตให้
เจริญยิ่งแล้วด้วยสมถะและวิปัสสนา โดยการประกอบเนือง ๆ ซึ่งอธิจิต คือ
ท่านผู้ยังจิตให้ถึงที่สุด แห่งสมถภาวนาและวิปัสสนาภาวนา แล้วดำรงอยู่.
อีกอย่างหนึ่ง บทว่า ภาวิตตฺตานํ ความว่า มีตนอันอบรมแล้วเป็นสภาพ.
อธิบายว่า มีตนอันอบรมแล้วด้วยคุณมีศีลเป็นต้น อันเป็นแล้วตามสภาพ.
ที่ชื่อว่า คาถา เพราะเป็นถ้อยคำอันท่านร้อยกรองไว้ ได้แก่ ถ้อยคำ ๔ บท
หรือ ๖ บท ที่ฤษีทั้งหลายประพันธ์ไว้โดยเป็นฉันท์ มีอนุฏฐุภฉันท์เป็นต้น.
เพราะเหตุที่ ฉันท์แม้อื่น มีลักษณะคล้ายกับอนุฏฐภฉันท์ ท่านจึงเรียกว่า
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: