星期二, 一月 09, 2018

Luk

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 9/179/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บทว่า ทเทยฺย คือ พึงมอบถวาย (หรือเพิ่มถวาย).
ก็แล พึงถวายปัจจัยนั้น ด้วยจิตอันเลื่อมใส ไม่ยังความเลื่อมใสแห่ง
จิตให้คลายเสีย. จริงอยู่ ทายกนั้นจะรู้ทั่วถึงธรรมใดในพระศาสนานี้แล้ว เป็น
ผู้ไม่มีอาสวะ ปรินิพพาน ภิกษุผู้เป็นพหูสูตเหล่านั้น ย่อมแสดงธรรมนั้น ซึ่ง
เป็นเครื่องบรรเทาทุกข์ทั้งปวง แก่เขาผู้มีจิตผ่องใสอย่างนั้น ฉะนี้แล.
[ว่าด้วยลายยูเป็นต้น]
วินิจฉัยในคำว่า อาวิญฉนฉิททํ อาวิญฉนชฺชุํ นี้ มีความว่า
ขึ้นชื่อว่าเชือก แม้ถ้าเป็นของที่ทำด้วยหางเสือ ควรแท้. เชือกบางอย่างไม่
ควรหามิได้.
ดาล ๓ ชนิดนั้น ได้แก่ กุญแจ ๓ อย่าง.
วินิจฉัยในคำว่า ยนตกํ สูจิกํ นี้ว่า ภิกษุควรทำกุญแจยนต์ที่ตน
รู้จัก และลูกกุญแจสำหรับไขกุญแจยนต์นั้น.
ที่ชื่อว่าหน้าต่างสอบบน คล้ายเวทีแห่งเจดีย์
ที่ชื่อว่าหน้าต่างตาข่าย ได้แก่ หน้าต่างที่ขึงข่าย.
มีชื่อว่าหน้าต่างซี่ ได้แก่ หน้าต่างลูกกรงอาทิผิด อักขระ.
ในคำว่า จกกลิกํ นี้ มีความว่า เราอนุญาตให้ผูกผ้าเล็ก ๆ คล้าย
ผ้าเช็ดเท้า.
คำว่า วาตปานภิสิกํ มีความว่า เราอนุญาตให้ทำเสื่อ ได้ขนาด
หน้าต่างผูกไว้.
[ว่าด้วยเตียงและตั่ง]
บทว่า มิฒึ ได้แก่ กระดานตั่ง
บทว่า วิทลมฺจํ ได้แก่ เตียงหวาย หรือเตียงที่สานด้วยตอกไม้ไผ่อาทิผิด .
.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: