星期三, 一月 17, 2018

Prathap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 3/96/12  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สมันตปาสาทิกาแปล อรรถกถาพระวินัย
มหาวิภังควรรณนา
ภาค ๒
เตรสกัณฑวรรณนา
เตรสกะ (หมวด ๑๓) ท่านพระธรรมสังคหกาจารย์
ทั้งหลาย ได้ร้อยกรองไว้ในลำดับอาทิผิด อักขระแห่งปาราชิกกัณฑ์
มีการพรรณนาบทที่ยังไม่มีในก่อน ดังต่อไปนี้
สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๑
สุกกวิสัฏฐิสิกขาบทวรรณนา
[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องพระเสยยสกะ]
บัณฑิตพึงทราบวินิจฉัยในคำว่า โดยสมัยนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้า
ประทับอาทิผิด อักขระอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคฤหบดี เขตพระ-
นครสาวัตถี. ก็ในสมัยนั้นแล ท่านพระเสยยสกะไม่ยินดีประพฤติ
พรหมจรรย์นี้ ดังต่อไปนี้.
คำว่า อายสฺมา เป็นคำไพเราะ.
บทว่า เสยฺยสโก เป็นชื่อ ของภิกษุรูปนั้น.
คำว่า อนภิรโต ความว่า เป็นผู้มีจิตฟุ้งซ่าน คือ ถูกความ
เร่าร้อนเพราะกำหนัดในกามแผดเผาอยู่ แต่ไม่ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: