星期五, 二月 02, 2018

Athibai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 74/38/2  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ในบทเหล่านั้น บทว่า อตีตกปฺเป คือในมหากัปอาทิผิด อักขระมีกำหนดตามที่
กล่าวแล้วล่วงไปแล้วทั้งหมดก่อนหรือกว่าจากกัปนี้ อธิบายอาทิผิด อักขระว่า ในสี่อสงไขย
แสนกัป. บทว่า จริตํ คือการปฏิบัติบารมีมีทานบารมีเป็นต้น ที่สะสมไว้
แล้ว. บทว่า ปยิตฺวา คือเว้นไม่ถือเอา อธิบายว่า ไม่กล่าวถึง. บทว่า
ภวาภเว คือในภพน้อยใหญ่. พึงทราบความในบทว่า อิติภวาภวกถํ ดัง
ต่อไปนี้ ท่านกล่าวถึงความเจริญและความเสื่อมว่า ภวาภว. ในบทที่ว่าล่วง
ความเป็นผู้เจริญและเป็นผู้เสื่อม ท่านประสงค์เอา สมบัติวิบัติ ความเจริญ
ความเสื่อม สสัสตทิฏฐิ อุจเฉททิฏฐิ บุญและบาป ว่า ภวาภว. อนึ่ง
ในบทนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลายตัณหาเมื่อจะเกิดแก่ภิกษุย่อมเกิดขึ้น เพราะ
เหตุของประณีต ท่านประสงค์เอาเภสัชมีเนยใสและเนยข้นอาทิผิด สระเป็นต้นอันประ-
ณีต ประณีตยิ่ง ว่า ภวาภว. อาจารย์บางพวกกล่าวว่า ในสมบัติภพ ภพ
น้อยภพใหญ่ประณีตยิ่ง ประณีตที่สุด ดังนี้บ้าง. เพราะฉะนั้น แม้ในที่นี้
ก็พึงทราบความนั้นนั่นแล ท่านอธิบายว่า ในภพน้อยและภพใหญ่. บทว่า
อิมมฺหิ กปฺเป คือในภัทรกัปนี้. บทว่า ปวกฺขิสฺสํ คือเราจักบอก. บทว่า
สุโณหิ ท่านจงฟัง คือทรงชักชวนพระธรรมเสนาบดีสารีบุตร ในการฟัง.
บทว่า เมห คือในสำนักของเรา. อธิบายว่า จากคำพูดของเรา.
จบ นิทานกถา
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: