星期一, 二月 12, 2018

Pratu

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 30/357/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ก็เหมือนกัน. ในบาลี ท่านอภยวาสี ได้บรรลุพระอรหัต ณ ที่ตั้งประจำ
เพื่อถามปัญหา. ท่านอนุราชวาสี ได้บรรลุพระอรหัต ณ ประตูอาทิผิด อักขระด้านทักษิณ
แห่งนครใกล้ประตูถูปาราม.
ก็พระเถระผู้กล่าวมหาอริยวงศ์กล่าวว่า พวกท่านพูดอะไร ควรจะ
พูดว่า ในที่ที่ปรากฏอาทิผิด อักขระ ตั้งแต่ส่วนล่างของที่บูชาโดยรอบมหาเจดีย์ เท้าทั้งสอง
สามารถจะให้ประดิษฐานเสมอกัน ได้ในที่ใด ๆ ภิกษุทุก ๆ สามหมื่นรูป ได้
บรรลุพระอรหัตในการยกเท้าข้างหนึ่งขึ้น ในที่นั้น ๆ.
แต่พระมหาเถระอีกรูปหนึ่งกล่าวว่า ภิกษุทั้งหลายมากกว่าทรายที่
กระจัดกระจายอยู่ ณ พื้นมหาเจดีย์ ได้บรรลุพระอรหัต. บุคคลเห็น
พระเถระแล้วตั้งอยู่ในโอวาทของท่านเห็นอสุภะยังปฐมฌานให้เกิดในอสุภะนั้น
พิจารณาอสุภะนั้นนั่นแล โดยความสิ้นไปย่อมบรรลุพระอรหัต. เพราะฉะนั้น
การเห็นสิ่งเหล่านี้ จึงมีประโยชน์.
ก็อาจารย์บางพวกกล่าวว่า ความเจริญ แม้โดยอามิส ก็เป็นประโยชน์
เหมือนกัน เพราะอาศัยอามิสนั้น ปฏิบัติเพื่ออาทิผิด สระอนุเคราะห์พรหมจรรย์.
ก็ในการเดินนั้น การกำหนดสิ่งที่สบายและไม่สบายแล้วถือเอาสิ่งที่
สบาย เป็นสัปปายสัมปชัญญะ เช่นการเห็นพระเจดีย์ มีประโยชน์ถึงเพียงนั้น.
หากว่า ชุมชนประชุมกันในระหว่าง ๑๒๐ โยชน์ เพื่อมหาบูชาพระเจดีย์.
สตรีบ้าง บุรุษบ้าง ตกแต่งประดับตามสมควรแก่สมบัติของตนอาทิผิด อักขระ พากันเที่ยว
ไปเหมือนรูปจิตรกรรม.
ก็ในเรื่องนั้น ความโลภในอารมณ์ที่น่าใคร่ ความแค้นในอารมณ์
ที่ไม่น่าใคร่ ความหลงด้วยการไม่สมหวัง ย่อมเกิดแก่ภิกษุนั้น. ภิกษุนั้น
ย่อมต้องอาบัติอันเป็นกายสังสัคคะ. และเป็นอันตรายอชีวิตพรหมจรรย์.
ฐานะนั้น ย่อมเป็นรานะอันไม่สบาย ด้วยประการฉะนี้. ฐานะเป็นที่สบายใน
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: