星期日, 六月 24, 2018

Khuankhwai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 53/153/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
มีสติเข้าไปตั้งไว้ เพ่งอยู่คือ ขวนขวายอาทิผิด อักขระในการเพ่ง ย่อมบรรลุนิพพานสุข
อันยอดเยี่ยม คือสูงสุด.
บทว่า สุวาคตํ นาปคตํ ความว่า การที่เรามาในสำนักของพระ-
ศาสดาในกาลนั้น หรือในการที่พระศาสดาเสด็จมาในป่ามหาวันนั้น เป็น
การมาดีแล้ว คือเป็นการมาที่ดี ไม่ใช่เป็นการมาไม่ดี คือเป็นการมาที่ไม่
ไปปราศจากประโยชน์.
บทว่า เนตํ ทุมฺมนฺติตํ มม ความว่า ข้อที่เราคิดไว้ในคราวนั้นว่า
จักบวชในสำนักของพระศาสดา แม้นี้ก็ไม่ใช่เป็นความคิดไม่ดีของเรา
คือเป็นความคิดดีทีเดียว. เพราะเหตุไร ? เพราะได้บรรลุในธรรมทั้งหลาย
ที่มีจำแนกไว้แล้ว. อธิบายว่า บรรดาธรรมทั้งหลายที่ทรงจำแนกไว้เป็น
อย่าง ๆ เช่นธรรมที่มีโทษและธรรมที่ไม่มีโทษเป็นต้น เราบรรลุพระ-
นิพพานอันประเสริฐ คือสูงสุดประเสริฐสุด ได้แก่เข้าถึงพระนิพพานนั้น
นั่นแล.
พระเถระเมื่อจะแสดงภาวะแห่งธรรมเครื่องอยู่เป็นสุขว่า ในกาลนั้น
ในเวลาที่ยังเป็นปุถุชน เราอยู่ลำบากในป่าเป็นต้น เพราะเป็นผู้มีประโยค
และอาสยวิบัติ บัดนี้ เราอยู่เป็นสุขในป่าเป็นต้นนั้น เพราะเป็นผู้สมบูรณ์
ด้วยประโยคและอาสยะ และเมื่อจะแสดงความเป็นพราหมณ์โดยปรมัตถ์ว่า
เมื่อก่อนเราเป็นพราหมณ์แต่เพียงชาติกำเนิด แต่บัดนี้ ชื่อว่าเป็นพราหมณ์
เพราะเป็นบุตรอันเกิดแต่พระอุระของพระศาสดา จึงกล่าวคำมีอาทิว่า
อรญฺเ ดังนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สุขํ สยามิ ความว่า เราแม้นอนอยู่ก็
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: