To
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 69/158/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า อุปกฺกิเลสา ปหียนฺติ ภิกษุผู้ปรารภความเพียรย่อมละ
อุปกิเลสได้ คือละนิวรณ์ได้ด้วยการข่มไว้. บทว่า วิตกฺกา วูปสมนฺติ วิตก
ย่อมสงบไป คือ วิตกไม่ตั้งมั่นแล้ว เที่ยวไปในอารมณ์ต่าง ๆ ย่อมถึงความสงบ
ภิกษุปรารภความเพียรละอุปกิเลสได้ด้วยฌานใด วิตกทั้งหลายย่อมสงบด้วย
ฌานนั้น. บทว่า อยํ ปโยโค ท่านทำเป็นปุงลิงค์เพราะเพ่งถึงประโยค.
บทว่า สญฺโญชนานิ ปหียนฺติ ภิกษุผู้ปรารภความเพียรย่อมละสังโยชน์ได้
คือ ละสังโยชน์อันมรรคนั้น ๆ ทำลายด้วยสมุจเฉทปหาน. บทว่า อนุสยา
พฺยาสนฺติ อนุสัยย่อมถึงความพินาศ คือ เพราะอนุสัยที่ละได้แล้วไม่เกิดขึ้นอีก
จึงชื่อว่า พยนฺตา เพราะมีเกิดหรือเสื่อมปราศจากไปแล้ว. ชื่อว่า พฺยนฺติ
โหนฺติ เพราะไม่เสื่อมมาก่อน ต่ออาทิผิด อักขระมาเสื่อม ความว่า พินาศ. เพื่อแสดงว่า
การละสังโยชน์ย่อมมีได้ด้วยการละอนุสัย มิใช่ด้วยอย่างอื่น ท่านจึงกล่าวถึง
การละอนุสัย. ความว่า ละสังโยชน์ได้ด้วยมรรคใด อนุสัยย่อมพินาศไปด้วย
มรรคนั้น นี้เป็นความวิเศษ.
ในจตุกะที่ ๔ ท่านกล่าวถึงอริยมรรคไว้ในที่นี้ เพราะแม้อริยมรรค
ท่านก็ได้ชี้แจงไว้แล้ว แม้เมื่อไม่กล่าวถึงความไม่มีอารมณ์เป็นสองแห่งจิต
ดวงเดียว เพราะสำเร็จแล้วท่านจึงไม่แก้จิตดวงนั้นแล้วสรุปว่า ธรรม ๓ อย่าง
เหล่านั้นไม่เป็นอารมณ์แห่งจิตดวงเดียวอย่างนี้.
บัดนี้ พระสารีบุตรเถระเมื่อจะสรรเสริญพระโยคาวจร ผู้สำเร็จภาวนา
นั้นจึงกล่าวคาถาว่า อานาปานสฺสติ ยสฺส แล้วกล่าวนิเทศแห่งคาถานั้น.
พึงทราบวินิจฉัยในบทนั้นดังต่อไปนี้ ภิกษุใดเจริญอานาปานสติให้
บริบูรณ์ดีแล้ว อบรมแล้วตามลำดับ ตามที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว ภิกษุ
นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว เหมือนอะไร เหมือนพระจันทร์พ้นแล้วจาก
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论