turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 9/230/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
หรือเหยียบด้วยฝ่ามือฝาเท้า ควรอยู่. เตียงตั่งกระทบกายของภิกษุผู้กำลังขนไป
ไม่เป็นอาบัติ.
[ว่าด้วยสังภัต]
ข้อว่า น สกฺโกนติ สงฺฆภตฺตํ กาตุํ มีความว่า ก็แลชนทั้งหลาย
ไม่สามารถทำภัต เพื่อสงฆ์ทั้งมวลได้.
วินิจฉัยในคำว่า อิจฺฉนฺติ อุท เทสภตฺตํ เป็นต้น พึงทราบ
ดังนี้:-
ชนทั้งหลายปรารถนาจะทำภัต เพื่อภิกษุอาทิผิด ที่ตนได้ ด้วยการเจาะจง
อย่างนี้ว่า ขอท่านจงให้ภิกษุรูป ๑ หรือ ๒ รูป ฯลฯ หรือ ๑๐ รูปเจาะจง
จากสงฆ์.
ชนอีกพวกหนึ่ง ปรารถนาจะกำหนดจำนวนภิกษุอย่างนั้นเหมือนกัน
นิมนต์แล้วทำภัตเพื่อภิกษุเหล่านั้น.
อีกพวกหนึ่ง ปรารถนาจะกำหนดสลาก นิมนต์แล้วทำภัตเพื่อภิกษุ
เหล่านั้น.
อีกพวกหนึ่ง ปรารถนาจะทำภัตเพื่อภิกษุรูป ๑ หรือ ๒ รูป ฯลฯ
หรือ ๑๐ รูป กะไว้อย่างนี้ว่า ปักขิกภัต อุโปสถิกภัต ปาฏิปทิกภัต ภัตมี
ประมาณเท่านี้ ได้โวหารนี้ว่า อุทเทสภัต นิมันตนภัต ด้วยประการฉะนี้.
อนึ่ง แม้หากว่าชนเหล่านั้น ไม่สามารถจะทำสังฆภัตได้ในคราว
ทุพภิกขภัย, แต่จักสามารถทำสังฆภัตได้อีกในคราวมีภิกษาหาได้ง่าย ; เพราะ
ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงรวมแม้ซึ่งสังฆภัตนั้น ไว้ในจำนวนด้วย ตรัสว่า
ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตสังฆภัต อุทเทสภัต ดังนี้เป็นต้น .
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 47/221/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปานนี้ใด พึงเป็นผู้มีการงานเศร้าหมอง สิ้นกาลนานเหมือนหลุมคูถ เป็น
บุคคลที่เต็มไปด้วยบาป เพราะเพียบพร้อมไปด้วยคูถคือบาป ก็บุคคลเห็น
ปานนี้นั้น ผู้มีการงานอันเศร้าหมอง เป็นผู้ชำระให้สะอาดได้โดยยาก แม้จะ
เสวยวิบากแห่งกิเลส (เพียงดังนั้น) นั้น สิ้นกาลอาทิผิด อักขระนาน ก็หาบริสุทธิ์ได้ไม่
ฉันนั้นเหมือนกัน เพราะฉะนั้น ภิกษุเช่นนั้นนั่นแลละไปแล้วย่อมเข้าถึงทุกข์
สิ้นกาลนาน แม้ประมาณมิได้โดยการนับปี.
อีกอย่างหนึ่ง ในคาถานี้มีสัมพันธ์ดังต่อไปนี้.
ในบาทพระคาถาที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ภิกษุผู้เช่นนั้นแล
ละไปแล้วย่อมเข้าถึงทุกข์ ดังนี้ จะพึงมีคำถามสอดเข้ามาว่า ก็ภิกษุนี้
ท่านทั้งหลายสามารถจะกระทำโดยประการที่ละไปแล้วจะไม่เข้าถึงทุกข์ได้หรือไม่
ตอบว่า ไม่สามารถ
ถามว่า เพราะเหตุไร ?
ตอบว่า เพราะภิกษุนี้เปรียบเหมือนหลุมคูถที่เต็มอยู่นานปี ก็พึงเป็น
หลุมที่เต็มด้วยคูถ ดังนี้.
เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงแสดงไว้ก่อนทีเดียวว่า ภิกษุทั้งหลาย
ท่านทั้งหลายจงรู้จักบุคคลเห็นปานนั้นผู้อาศัยเรือน คือว่าพึงทราบบุคคลเห็น
ปานนั้นผู้อาศัยกามคุณทั้ง ๕ ผู้ชื่อว่ามีความปรารถนาลามก เพราะประกอบ
ด้วยความปรารถนาลามก อันเป็นไปโดยอาการคือการปรารถนาคุณที่ไม่มีจริง
ผู้ชื่อว่ามีความดำริชั่ว เพราะประกอบด้วยความดำริทั้งหลาย มีกามวิตกเป็นต้น
ผู้ชื่อว่ามีความประพฤติชั่ว เพราะประกอบด้วยความประพฤติชั่ว มีการประพฤติ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 18/271/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บัดนี้ เมื่อจะทรงนำอุปมาอันสอนถึงความที่ภิกษุเหล่านั้นเป็นผู้ว่าง่าย
จึงตรัสคำว่า เสยฺยถาปิ เป็นต้น. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สุภูมิยํ
ได้แก่ พื้นที่ดีเรียบ เหมือนในประโยคที่ว่า บุคคลพึงหว่านพืชในพื้นที่ดี
ในนาดีอันปราศจากตอไม้เป็นต้น และคำที่มาในประโยคว่า พื้นที่สะอาด
เป็นพื้นที่ดี เป็นต้น. บทว่า จตุมหาปเถ ได้แก่ ในที่ทางใหญ่สองสาย
ตัดผ่านกันไป. บทว่า อาชญฺญรโถ ได้แก่ รถที่เทียมด้วยม้าที่ฝึกดีแล้ว.
บทว่า โอธสฺตปโตโท ความว่า นายสารถีผู้ฉลาดก้าวขึ้นบนรถแล้ว.
สามารถเพื่อจะถือแส้อาทิผิด ที่วางไว้ทางขวางแล้วห้อยลง. บทว่า โยคฺคาจริโย
ได้แก่ นายสารถี. ผู้ใดย่อมฝึกม้า ผู้นั้น ชื่อว่า อสฺสทมฺมสารถิ.
บทว่า เยนิจฺฉกํ คือ ย่อมปรารถนาไปทางใด. บทว่า ยทิจฺฉกํ คือ ย่อม
ต้องการออกไปที่ใด. บทว่า สาเรยฺย คือ พึงไปทางตรงอาทิผิด อักขระข้างหน้า. บทว่า
ปจฺฉา สาเรยฺย คือให้กลับ. บทว่า เอวเมว โข ความว่า เหมือนอย่างว่า
นายสารถีนั้น ย่อมปรารถนาจะไปทางใด ๆ ม้าก็จะขึ้นทางนั้น ๆ ย่อมปรารถนา
โดยคติใด ๆ ก็ถือเอาคตินั้น ๆ นั่นแหละไป ม้าลากรถไป ก็ไม่ห้ามไม่เฆี่ยน
แต่ม้าวางกีบไปในพื้นอันเรียบอย่างดีเท่านั้น. คำที่เราพึงกล่าวซ้ำซากในภิกษุ
ทั้งหลายเหล่านั้นมิได้มีแล้ว ด้วยอาการอย่างนี้ ว่าจงทำการนี้ อย่าทำการนี้
มีกิจที่ควรกระทำก็เพียงเตือนสติเท่านั้น ดังนี้ กิจที่ควรทำก็เป็นอันภิกษุแม้
เหล่านั้น ทำมาก่อนแล้วทั้งนั้น กิจไม่ควรทำเธอก็ละเสียแล้ว. บทว่า ตสฺมา
ความว่า เหล่าภิกษุผู้ว่าง่าย เปรียบเทียบด้วยยานที่เทียมด้วยม้าอาชาไนย ก็ละ
อกุศลธรรมได้ด้วยเพียงให้เกิดสติเท่านั้น เพราะฉะนั้น แม้พวกเธอจงละอกุศล
ธรรมเสีย. บทว่า เอลณฺเฑหิ ได้ยินว่า ต้นละหุ่งทั้งหลายย่อมประทุษ
ร้ายต้นสาละ เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสแล้วอย่างนั้น. บทว่า
วิโสเธยฺย คือ พึงตัดต้นละหุ่งทั้งหลาย และเถาวัลย์อื่นเสีย แล้วก็ทำความ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/231/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อรรถกถาอัญญติตถิยวัตถุกถา
พึงทราบวินิจฉัยในอัญญติตถิปุพพวัตถุต่อไป:-
ปสุรปริพาชกนี้ก่อน ไม่ควรให้อุปสมบท เพราะกลับไปเข้ารีตอาทิผิด เดียรถีย์
แล้ว. ส่วนเดียรถีย์แม้อื่นคนใดไม่เคยบวชในศาสนานี้มา กิจใดควรทำสำหรับ
เดียรถีย์คนนั้น เพื่อแสดงกิจนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำว่า โย ภิกฺขเว
อญฺโญปิ เป็นต้น.
ในคำนั้นมีวินิจฉัยดังนี้ ข้อว่า ตสฺส จตฺตาโร มาเส ปริวาโส
ทาตพฺโพ มีความว่า ขึ้นชื่อว่าติตถิยปริวาสนี้ ท่านเรียกว่า อัปปฏิจฉันน-
ปริวาสบ้าง. ก็ติตถิยปริวาสนี้ ควรให้แก่อาชีวกหรืออเจลก ผู้เป็นปริพาชก
เปลือยเท่านั้น. ถ้าแม้เขานุ่งผ้าสาฎกหรือบรรดาผ้าวาฬกัมพลเป็นต้นผ้าอันเป็น
ธง๑ แห่งเดียรถีย์อย่างใดอย่างหนึ่งมา ไม่ควรให้ปริวาสแก่เขา. อนึ่ง นักบวช
อื่น มีดาบสและปะขาวเป็นต้น ก็ไม่ควรให้เหมือนกัน. พระผู้มีพระภาคเจ้า
ทรงแสดงสามเณรบรรพชาสำหรับเขาก่อนเทียว ด้วยคำเป็นต้นว่า ปมํ
เกสมสฺสุํ. อันภิกษุทั้งหลายผู้จะให้บวชอย่างนั้น ไม่พึงสั่งภิกษุทั้งหลายว่า
ท่านจงให้บวช, ท่านจงเป็นอาจารย์, ท่านจงเป็นอุปัชฌาย์ ในเมื่อกุลบุตรผู้
เคยเป็นอัญญเดียรถีย์นั้นนั่งในท่ามกลางสงฆ์เสร็จสรรพแล้ว. เพราะภิกษุทั้ง
หลายผู้ถูกสั่งอย่างนั้น ถ้าเกลียดชังด้วยการเป็นอาจารย์อุปัชฌาย์ของเขาจะไม่
รับ ทีนั้นกุลบุตรนั้นจะโกรธว่า ภิกษุเหล่านี้ไม่เชื่อเรา แล้วพึงไปเสียก็ได้
เพราะเหตุนั้น ภิกษุทั้งหลายพึงนำเข้าไปไว้ส่วนข้างหนึ่ง แล้วจึงค่อยหาอาจารย์
และอุปัชฌาย์สำหรับเขา.
๑. ต่อเป็นสัญญลักษณ์.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 72/239/23 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เรือนของพวกกุฎุมพี หัวหน้าช่างหูกในกาลก่อน ได้มาเกิดเป็นลูกชายของ
หัวหน้ากุฎุมพี แม้ภริยาของหัวหน้าช่างหูกในกาลก่อน ก็ได้มาเกิดเป็นลูกสาว
ของหัวหน้ากุฎุมพีคนหนึ่ง. พวกภริยาของช่างหูกที่เหลือในกาลก่อน ได้มา
เกิดเป็นพวกลูกสาวของกุฎุมพีที่เหลือทั้งหลาย หญิงเหล่านั้นแม้ทั้งหมดเจริญ
วัยแล้ว เมื่อจะไปสู่ตระกูลอัน (มีเหย้าเรือน) ต่างก็แยกกันไปยังเรือนของ
กุฏุมพีเหล่านั้น (ชาติก่อนเคยเป็นสามีภรรยากันอย่างใด แม้ชาตินี้ก็ได้มา
เป็นสามีภรรยากันอย่างนั้นอีก). ภายหลังวันหนึ่ง เมื่อมีการป่าวประกาศให้
ไปฟังธรรมที่พระวิหาร พวกกุฎุมพีเหล่านั้นแม้ทั้งหมดได้ทราบว่า พระศาสดา
จักทรงแสดงธรรม จึงได้พร้อมกับภริยาไปยังพระวิหารด้วยมุ่งหมายว่า พวก
เราจักฟังธรรม ในขณะที่คนเหล่านั้นเข้าไปยังท่ามกลางพระวิหาร ฝนก็ตก
ลงมา พวกคนที่รู้จักมักคุ้นกับพระหรือมีญาติที่เป็นสามเณรเป็นต้น ต่างก็จะ
เข้าไปยังบริเวณเป็นต้นของพระและสามเณรที่คุ้นเคยเป็นญาติกันเหล่านั้น
(เพื่อหลบฝน) แต่กุฎุมพีเหล่านั้น ไม่อาจจะเข้าไปในที่แห่งใดแห่งหนึ่งได้
เพราะไม่มีพระภิกษุสามเณรที่รู้จักหรือเป็นญาติเช่นนั้นเลย จึงได้ยืนอยู่ท่าม
กลางพระวิหารเท่านั้น. ต่อมาหัวหน้ากุฎุมพีเหล่านั้นกล่าวว่า ชาวเราเอ๋ย จงดู
ประการอันแปลกของพวกเราซิ ธรรมดาว่าพวกกุลบุตรควรจะเกี่ยวข้องกันได้
ด้วยเหตุเพียงไร. พวกกุฎุมพีจึงถามว่า พวกเราจะทำอย่างไรดีนาย พวกเรา
ถึงซึ่งประการอันแปลกนี้ เพราะไม่มีที่อยู่สำหรับผู้คุ้นเคยกัน พวกเราทั้งหมด
จักอาทิผิด อักขระรวบรวมทรัพย์สร้างบริเวณ. หัวหน้าจึงพูดว่า ดีละนาย แล้วได้ให้ทรัพย์
พันหนึ่ง. คนที่เหลือได้ให้ทรัพย์คนละห้าร้อย พวกผู้หญิงได้ให้ทรัพย์คนละ
สองร้อยห้าสิบ กุฎุมพีเหล่านั้นนำทรัพย์นั้นมาแล้วมอบให้ช่างสร้างเรือนยอด
รายไป ๑,๐๐๐ หลัง ได้ชื่อว่าเป็นบริเวณกว้างขวางเพื่อเป็นที่ประทับสำหรับ
พระศาสดา เพราะค่าอาทิผิด อักขระที่การก่อสร้างนั้นใหญ่ไปเมื่อทรัพย์ไม่เพียงพอ จึงได้
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 72/214/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
จงดูฤๅษีผู้ประเสริฐนี้ ซึ่งเป็นผู้มีผิวพรรณ
เหมือนทองคำ ที่ไล่มลทินออกแล้ว มีโลมชาติ
ชูชันอาทิผิด และใจโสมนัส ยืนประนมอัญชลีนิ่งไม่ไหว
ติง ร่าเริง มีนัยน์ตาเต็มดี มีอัธยาศัยน้อมไปใน
คุณของพระพุทธเจ้า มีธรรมเป็นธง หทัยร่าเริง
เหมือนกับถูกรดด้วยน้ำอมฤต
เขาได้สดับคุณของกัจจายนภิกษุแล้ว จึง
ได้ปรารถนาฐานันดรนั้น ในอนาคตกาล ฤๅษี
ผู้นี้จักได้เป็นธรรมทายาทของพระโคดมมหามุนี
เป็นโอรสอันธรรมเนรมิต จักเป็นพระสาวกของ
พระศาสดา มีนามชื่อว่ากัจจายนะ
เขาจักเป็นพหูสูต มีญาณใหญ่ รู้อธิบาย
แจ้งชัด เป็นนักปราชญ์ จักถึงฐานันดรนั้น ดัง
ที่เราได้พยากรณ์ไว้แล้ว
ในกัปที่แสนแต่กัปนี้ เราได้ทำกรรม
ใดในกาลนั้น ด้วยกรรมนั้นเราไม่รู้จักทุคติเลย
นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา
เราท่องเที่ยวอยู่แต่ในสองภพ คือ ใน
เทวดาและมนุษย์ คติอื่นเราไม่รู้จัก นี้เป็นผลแห่ง
พุทธบูชา
เราเกิดในสองสกุล คือ สกุลกษัตริย์และ
สกุลพราหมณ์ เราไม่เกิดในสกุลที่ต่ำทราม
นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 65/20/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สมควร ความปฏิบัติไม่เป็นข้าศึก ความปฏิบัติเป็นไปตามประโยชน์ ความ
ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ความทำให้บริบูรณ์ในศีล ความเป็นผู้มี
ทวารอันคุ้มครองในอินทรีย์ ความเป็นผู้รู้จักประมาณในโภชนะ ความ
ประกอบเนือง ๆ ในความเป็นผู้ตื่นอาทิผิด อักขระมีสติสัมปชัญญะ ความประกอบเนือง ๆ
ในอันเจริญสติปัฏฐาน ๔ ความประกอบเนือง ๆ ในอันเจริญสัมมัปปธาน ๔
ความประกอบเนือง ๆ ในอันเจริญอิทธิบาท ๔ ความประกอบเนือง ๆ ใน
อันเจริญอินทรีย์ ๕ ความประกอบเนือง ๆในอันเจริญพละ ๕ ความ
ประกอบเนือง ๆ ในอันเจริญ โพชฌงค์ ๗ ความประกอบเนือง ๆ ในอัน
เจริญมรรคมีองค์ ๘ อันตรายเหล่านั้นย่อมเป็นไปเพื่อความเสื่อม เพื่อ
อันตรธานไปแห่งกุศลธรรมเหล่านี้ เพราะอรรถว่าเป็นไปเพื่อความเสื่อม
จึงชื่อว่า อันตราย อย่างนี้.
เพราะอรรถว่า เป็นที่อยู่แห่งอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงชื่อว่า
อันตราย อย่างไร ? อกุศลธรรมอันลามกเหล่านั้นย่อมเกิดขึ้นในอัตภาพนั้น
ย่อมเป็นธรรมอยู่อาศัยในอัตภาพ เปรียบเหมือนเหล่าสัตว์ที่อาศัยรู ย่อมอยู่
ในรู ที่อาศัยน้ำ ย่อมอยู่ในน้ำ ที่อาศัยป่า ย่อมอยู่ในป่า ที่อาศัยต้นไม้
ย่อมอยู่ที่ต้นไม้ ฉันใด อกุศลธรรมอันลามกเหล่านั้น ย่อมเกิดขึ้นใน
อัตภาพนั้น ย่อมเป็นธรรมอยู่อาศัยในอัตภาพ ฉันนั้น เพราะอรรถว่า
เป็นที่อยู่แห่งอกุศลธรรมทั้งหลายจึงชื่อว่า อันตราย อย่างนี้.
สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า :-
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้อยู่ร่วมกับกิเลสอันอยู่อาศัยในภายใน ผู้
อยู่ร่วมกับกิเลสที่ฟุ้งซ่าน ย่อมอยู่ลำบาก ไม่ผาสุก. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 23/233/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
มีความรู้สึกเนื่องด้วยฉันทราคะในโสตและเสียงว่า โสตของเราได้เป็น
ดังนี้ เสียงได้เป็นดังนี้ ในกาลที่ล่วงแล้ว...
มีความรู้สึกเนื่องด้วยฉันทราคะในฆานะและกลิ่นว่า ฆานะของเราได้
เป็นดังนี้ กลิ่นได้เป็นดังนี้ ในกาลที่ล่วงแล้ว...
มีความรู้สึกเนื่องด้วยฉันทราคะในชิวหาและรสว่า ชิวหาของเราได้
เป็นดังนี้ รสได้เป็นดังนี้ ในกาลที่ล่วงแล้ว...
มีความรู้สึกเนื่องด้วยฉันทราคะในกายและโผฏฐัพพะว่า กายของเรา
ได้เป็นดังนี้ โผฏฐัพพะได้เป็นดังนี้ ในกาลที่ล่วงแล้ว...
มีความรู้สึกเนื่องด้วยฉันทราคะในมโนและธรรมารมณ์ว่า มโนของ
เราได้เป็นดังนี้ ธรรมารมณ์ได้เป็นดังนี้ ในกาลที่ล่วงแล้ว เพราะความรู้สึก
เนื่องด้วยฉันทราคะ จึงเพลิดเพลินมโนอาทิผิด อักขระและธรรมารมณ์นั้น เมื่อเพลิดเพลิน
จึงชื่อว่า คำนึงถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว. ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย อย่างนี้แล ชื่อว่า
คำนึงถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว.
ผู้ไม่คำนึงถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว
[๕๕๗] ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็บุคคลจะไม่คำนึงถึงสิ่งที่ล่วง
แล้วอย่างไร คือ มีความรู้สึกไม่เนื่องด้วยฉันทราคะในจักษุและรูปว่า จักษุ
ของเราได้เป็นดังนี้ รูปได้เป็นดังนี้ ในกาลที่ล่วงแล้ว เพราะความรู้สึกไม่
เนื่องด้วยฉันทราคะจึงไม่เพลิดเพลินจักษุและรูปนั้น เมื่อไม่เพลิดเพลิน จึง
ชื่อว่า ไม่คำนึงถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว .
มีความรู้สึกไม่เนื่องด้วยฉันทราคะในโสตและเสียงว่า โสตของเราได้
เป็นดังนี้ เสียงได้เป็นดังนี้ ในกาลที่ล่วงแล้ว...
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 89/210/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๙๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี
๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.
๑๑. นกัมมปัจจัย
[๑๙๓] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภู-
ธรรม.
๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตต-
สหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ พาหิรรูป . . . อาหารสมุฏฐานรูป. . . อุตุสมุฏฐานรูปอาทิผิด อักขระ ฯลฯ
๓. จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม
เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยจิต.
๔. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่
จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
๑. ข้อ ๑๙๒, ๑๙๔, ๑๙๖ ควรจะจัดไว้เป็นข้อเดียวกันเหมือนทุกครั้ง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 63/193/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทั้งนั้น. บทว่า นตฺถิ มจฺจุสฺส นาคโม ความว่า พระราชาทรงครวญคร่ำ
รำพันว่า ความมาแห่งมัจจุนั้น เรารู้ในวันนี้เอง เมื่อก่อนแต่นี้ เราไม่รู้เลย.
บทว่า สฺ วาชฺเชวงฺคเต กาเล ความว่า พระราชาทรงแสดงว่า สามบัณฑิตใด
ถูกลูกศรอาบยาพิษซึมซาบแล้วเจรจาอยู่กะเราในบัดนี้ทีเดียว สามบัณฑิตนั้น
ครั้นมรณกาลไปคือเป็นไปอย่างนี้ในวันนี้ ไม่กล่าวอะไร ๆ แม้แต่น้อยเลย.
บทว่า ตทา หิ ความว่า เราผู้ยิงสามบัณฑิตในขณะนั้นได้กระทำบาปแล้ว.
บทว่า จิรํ รตฺตาย กิพฺพิสํ ความว่า ก็บาปนั้นทารุณหยาบช้าสามารถทำ
ให้เดือดร้อนตลอดราตรีนาน. บทว่า ตสฺส ความว่า ติเตียนเรานั้น ผู้เที่ยว
ทำกรรมชั่วเห็นปานนี้. บทว่า วตฺตาโร ความว่า ย่อมติเตียน. ติเตียนที่ไหน ?
ติเตียนอาทิผิด ในบ้าน. ติเตียนว่าอย่างไร ติเตียนว่าเป็นผู้ทำกรรมหยาบช้า.
พระราชาทรงคร่ำครวญว่า ก็ในป่าอันหามนุษย์มิได้นี้ ใครเล่าควร
จะกล่าวติเตียนเรา ถ้าจะมี ก็พึงว่ากล่าวเรา. บทว่า สารยนฺติ ได้แก่ ใน
บ้านหรือในนิคมเป็นต้น. บทว่า สํคจฺฉ มาณวา ความว่า คนทั้งหลาย
จะประชุมกันในที่นั้น ๆ จะยังกันและกัน ให้ระลึกถึงกรรมทั้งหลาย จะโจทนา
อย่างนี้ว่า แน่ะท่านผู้ฆ่าคน ท่านทำทารุณกรรม ท่านต้องได้รับโทษอย่างโน้น
แต่ในป่าอันหามนุษย์มิได้นี้ ใครเล่าจักยังพระราชานี้ให้ระลึกถึงกรรม พระ-
ราชาทรงโจทนาตนคร่ำครวญอยู่อย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้.
กาลนั้น เทพธิดามีนามว่าพสุนธรีอาทิผิด สระ อยู่ภูเขาคันธมาทน์ เคยเป็นมารดา
ของพระมหาสัตว์ในอัตภาพที่เจ็ด พิจารณาดูพระโพธิสัตว์อยู่เป็นนิจ ด้วย
ความสิเนหาในบุตร ก็วันนั้นนางเสวยทิพยสมบัติ มิได้พิจารณาดูพระมหาสัตว์
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 49/213/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ไปยังอุตตราปถชนบท ขายสินค้า แล้วเอาเกวียนบรรทุกสินค้า
ที่ได้กลับมา ในเวลาเย็น ถึงแม่น้ำแห้งสายหนึ่ง จึงปลดเกวียน
ไว้ในที่นั้น พักแรมอยู่ราตรีหนึ่ง ลำดับนั้น เปรตนั้นถูกความ
กระหายครอบงำมาเพื่อต้องการน้ำดื่ม ไม่ได้น้ำดื่มแม้สักหยาดเดียว
ในที่นั้น หมดหวัง ขาอ่อนล้มลง เหมือนตาลรากขาดฉะนั้น. พวก
พ่อค้าเห็นดังนั้น จึงพากันถามด้วยคาถานี้ว่า :-
ท่านเปลือยอาทิผิด อักขระกายมีรูปร่างน่าเกลียด ซูบผอม
สะพรั่งไปด้วยเส้นเอ็น เห็นกระดูกซี่โครง แน่ะ
เพื่อนยาก ท่านเป็นใครกันหนอ.
ลำดับนั้นเปรตตอบว่า :-
ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าเป็นเปรตทุกข์ยาก
เกิดในยมโลก ทำกรรมชั่วไว้ จึงจากโลกนี้ไปสู่
เปตโลก.
ครั้นอ้างตนดังนี้แล้ว ถูกพ่อค้าถามถึงกรรมที่เขาทำอีกว่า :-
ท่านทำกรรมชั่วอะไรไว้ด้วยกายวาจาและ
ใจ เพราะวิบากของกรรมอะไร จึงจากโลกนี้ไป
ยังเปตโลก.
เมื่อจะแสดงประวัติของตน ทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคต
เดิมแต่ที่ที่ตนเกิดในกาลก่อน และเมื่อจะให้โอวาทแก่พวกพ่อค้า
ได้กล่าวคาถาเหล่านี้ ความว่า :-
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 28/216/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 26/207/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คือความครุ่นคิด ในวิบากอันเป็นไปในภูมิ ๓ ทรงถือเอาด้วยคำว่า
“อนุเสติ ย่อมครุ่นคิด.” ในคำว่า “อนุเสติ” นี้ ทรงถือเอาผู้ที่ยัง
ละความครุ่นคิดไม่ได้. ข้อว่า “อารมฺมณเมตํ โหติ อารัมมณปัจจัยนั้น
ย่อมมี” หมายความว่าเมื่อความครุ่นคิดมีอยู่ ความครุ่นคิดนั้นจึงเป็น
ปัจจัย (แห่งกัมมวิญญาณ) โดยแท้ เพราะความเกิดขึ้นแห่งกัมมวิญญาณ
เป็นสิ่งที่ใครห้ามไม่ได้.
ในบทว่า “โน จ เจเตติ ก็ภิกษุไม่จงใจ” เป็นต้น กุศล-
เจตนาและอกุศลเจตนาอันเป็นไปในภูมิ ๓ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ใน
บทที่ ๑. ตัณหาและทิฏฐิในจิต ๘ ดวง ตรัสไว้ในบทที่ ๒. ความครุ่นคิด
ที่บุคคลครุ่นคิด โดยที่สุดที่ยังละไม่ได้ในธรรมมีประการดังกล่าวแล้ว ตรัส
ไว้ในบทที่ ๓.
อีกอย่างหนึ่ง เพื่อมิให้ฉงนในพระสูตรนี้ ควรทราบหมวด ๔
ดังนี้คือ ย่อมจงใจ ย่อมดำริ ย่อมครุ่นคิด หมวด ๑. ย่อมไม่จงใจ
แต่ดำริ และครุ่นคิด หมวด ๑. ย่อมไม่จงใจ ไม่ดำริ แต่ครุ่นคิดอาทิผิด อักขระ
หมวด ๑. ย่อมไม่จงใจ ไม่ดำริ และไม่ครุ่นคิด หมวด ๑. ในหมวด ๔
นั้น การกำหนดธรรม พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้ในนัยที่ ๑.
กุศลเจตนาอันเป็นไปในภูมิ ๓ และอกุศลเจตนา ๔ ทรงถือเอาว่า
“ จงใจ” ในนัยที่ ๒. ตัณหาและทิฏฐิในจิต ๘ ดวง ทรงกล่าวว่า
“ไม่ดำริ” ความครุ่นคิด โดยที่สุดแห่งอุปนิสัยอาทิผิด อักขระในกุศลอันเป็นไปใน
ภูมิ ๓ ก็ดี โดยที่สุดแห่งปัจจัยที่เกิดพร้อมกันในอกุศลเจตนา ๔ ก็ดี
โดยที่สุดแห่งอุปนิสัยก็ดี ทรงถือเอาว่า “อนุสโย ครุ่นคิด.” กุศลและ
อกุศลที่เป็นไปในภูมิ ๓ ทรงกล่าวว่า “ไม่จงใจ” ในนัยที่ ๓. ตัณหาและ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 79/202/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คือนำธรรมอันไม่มีอุปการะออกไป เสพธรรมอันมีอุปการะทั้งหลาย เมื่อท่าน
เสพธรรมอันมีอุปการะเหล่านั้นจึงไม่เสื่อมจากสมาบัติ. เปรียบเหมือนชาวนา
ผู้รักษานา ๒ คน เป็นอุทาหรณ์ ดังนี้.
คนหนึ่ง มีโรคผอมเหลือง ทนต่อความหนาวเป็นต้นไม่ได้ คนหนึ่ง
ไม่มีโรคอดทนต่อความหนาวเย็นเป็นต้นได้ คนที่มีโรคไม่ลงจากกระท่อมไป
ข้างล่าง เขาละทิ้งการรักษานา ทั้งกลางวันทั้งกลางคืน พวกนกแขกเต้า นก
พิราบอาทิผิด และนกยูงเป็นต้น พากันมาสู่นาของเขาในเวลากลางวัน จิกกินรวง
ข้าวสาลีอาทิผิด อักขระ ในเวลากลางคืน พวกเนื้อและสุกรเป็นต้น เข้าไปสู่ลานนาคุ้ยเขี่ย
ราวกะที่อันตนทำไว้เอง ครั้นคุ้ยเขี่ยแล้วก็ไป เขาย่อมไม่ได้แม้สักว่าข้าวปลูก
อีก เพราะเหตุแห่งความประมาทของตน ส่วนบุคคลผู้ไม่มีโรคไม่ละทิ้งการ
รักษานาตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน เขาย่อมได้ข้าวประมาณ ๔ เกวียนบ้าง
๘ เกวียนบ้าง จากที่ประมาณกรีสหนึ่ง เพราะความไม่ประมาทของตน. ใน
พระโยคี ๒ รูปนั้น บัณฑิตพึงเห็นพระโยคีผู้เจตนาภัพพบุคคล เหมือนคน
ขี้โรครักษานา พึงเห็นพระโยคีผู้อนุรักขนาภัพพบุคคล เหมือนคนไม่มีโรค.
บัณฑิตพึงทราบความเสื่อมจากสมาบัติของเจตนาภัพพบุคคลผู้ไม่รู้
ธรรมมีอุปการะและไม่มีอุปการะ แล้วละธรรมอันมีอุปการะ เสพธรรมอัน
ไม่มีอุปการะอยู่ เหมือนกับการไม่ได้เมล็ดพืชที่จะปลูกอีกของคนมีโรค เพราะ
ความประมาทของตน พึงทราบความไม่เสื่อมจากสมาบัติของอนุรักขนาภัพพ-
บุคคลผู้รู้ธรรมมีอุปการะและไม่มีอุปการะ แล้วละธรรมอันไม่มีอุปการะ เสพ
อยู่ซึ่งธรรมมีอุปการะ เปรียบเหมือนกับการได้ข้าว ๔ เกวียน ๘ เกวียน จาก
ที่ประมาณกรีสหนึ่ง ของบุคคลผู้ไม่มีโรคเพราะความไม่ประมาทของตน
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 1/219/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ในสองบทว่า เยน เตน นี้ พึงทราบใจความอย่างนี้ว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า
ประทับอยู่ ณ ที่ใด เวรัญชพราหมณ์ ได้เข้าไปเฝ้า ณ ที่นั้น.
อีกอย่างหนึ่ง ในสองบทว่า เยน เตน นี้ พึงทราบใจความอย่างนี้ว่า
พระผู้มีพระภาคเจ้า อันเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายพึงเข้าไปเฝ้า ด้วยเหตุใด
เวรัญชพราหมณ์ ก็เข้าไปเฝ้าด้วยเหตุนั้น,
ก็พระผู้มีพระภาคเจ้า อันอาทิผิด อักขระเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายพึงเข้าไปเฝ้า
เพราะเหตุไร ?
พึงเข้าไปเฝ้า เพราะมีความประสงค์ ในการบรรลุคุณวิเศษมีประการ
ต่าง ๆ เหมือนต้นไม้ใหญ่ซึ่งผลิตผลเป็นนิตย์ อันหมู่ทิชาชาติทั้งหลาย พึงบิน
เข้าไปหา เพราะมีความประสงค์ในการจิกกินผลที่ดีฉะนั้น.
อนึ่ง บทว่า อุปสงฺกมิ มีอธิบายว่า คโต แปลว่า ไปแล้ว.
คำว่า อุปสงฺกมิตฺวา เป็นคำแสดงปริโยสานกาลกริยาแห่งการเข้าไปเฝ้า.
อีกอย่างหนึ่ง ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า เวรัญชพราหมณ์ ไปแล้ว
อย่างนั้น คือไปยังสถานที่ใกล้ชิดกว่านั้น ได้แก่ที่นับว่าใกล้ต่อพระผู้มี
พระภาคเจ้า ดังนี้บ้างอาทิผิด อาณัติกะ.
หลายบทว่า ภควาตา สทฺธึ สมฺโมทิ ความว่าพระผู้มีพระภาคเจ้า
เมื่อตรัสถามถึงความสุขทุกข์เป็นต้น* ได้ทรงมีความรื่นเริงเป็นไปกับพรามหมณ์
นั้นแล้ว ฉันใด ถึงแม้พราหมณ์นั้น ก็ฉันนั้น ได้มีความรื่นเริงเป็นไปกับ
พระผู้มีพระภาคเจ้า คือได้ถึงความเป็นผู้รื่นเริง ได้แก่ความเป็นพวกเดียวกัน
ดุจน้ำเย็นกับน้ำร้อนอาทิผิด อักขระผสมเป็นอันเดียวกันฉันนั้น.
* สารัตถทีปนีก็ดี อรรถโยชนาก็ดี เป็น ขมนยาทีนิ ได้แปลตามนั้น.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 58/183/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ลงฺฆีปิตามหา มีเมฆเป็นบิดา. บทว่า
โอรํ พลาเก อาคจฺฉ ความว่า ดูก่อนนกยาง ท่านจงมาข้างนี้เถิด.
ด้วยบทว่า จณฺโฑ เม วายโส สขา นี้ พระโพธิสัตว์กล่าวว่า
กาผู้สหายของเรา เป็นเจ้าของกระเช้าอาทิผิด อักขระ ดุร้าย หยาบช้า กานั้นมา
เห็นท่านเข้า จะเอาจงอยปากประหนึ่งปลายหอก จิกทำให้อาทิผิด อาณัติกะถึงแก่ความ
ตาย เพราะฉะนั้น ท่านจงลงจากกระเช้ามาอาทิผิด ทางนี้ คือรีบหนีไปข้างนี้
ตราบเท่าที่กานั้นยังไม่มา.
กาได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :-
ข้าพเจ้าไม่ใช่นกยางที่มีหงอน ข้าพเจ้า
เป็นกาเหลาะแหละ ไม่เชื่อฟังคำของท่าน
ท่านกลับมาแล้วจงดูเราเป็นผู้มีขนลุ่นนี้เถิด.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อาคโต ความว่า บัดนี้ท่านมา
จากที่หากินแล้ว จงมองดูเราผู้มีขนลุ่นนี้เถิด.
พระโพธิสัตว์ได้ฟังดังนั้นจึงกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า :-
ดูก่อนสหาย ท่านจะได้รับทุกข์อีก
เพราะว่าปกติของท่านเป็นเช่นนั้น แท้จริง
เครื่องบริโภคของมนุษย์ ไม่ควรที่นกจะ
บริโภค.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปุนปาปชฺชสี สมฺม ความว่า
ดูก่อนกาผู้สหาย ท่านจะได้รับทุกข์เห็นปานนี้อีก ความที่จะพ้นจาก
พระปิฎกธรรม