星期四, 二月 28, 2019

Burapha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์   15/9/8  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

星期三, 二月 27, 2019

Khuttharat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 38/192/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พิจารณาเห็นดังนี้ว่า กายนี้มีทุกข์มาก มีโทษมาก เพราะฉะนั้น อาพาธ
ต่าง ๆ จึงเกิดขึ้นในกายนี้ คือ โรคตา โรคหู โรคจมูก โรคลิ้น โรค
กาย โรคศีรษะ โรคที่ใบหู โรคปาก โรคฟัน โรคไอ โรคหืด โรค
ไข้หวัด โรคไข้พิษ โรคไข้เซื่องซึม โรคในท้อง โรคลมสลบ โรคบิด
โรคจุกเสียด โรคลงราก โรคเรื้อน โรคฝี โรคกลาก โรคมองคร่อ
โรคลมบ้าหมู โรคหิดเปื่อย โรคหิดด้าน โรคคุดทะราดอาทิผิด สระ หูด โรคละออง
บวม โรคอาเจียนโลหิต โรคดีเดือด โรคเบาหวาน โรคเริม โรคพุพอง
โรคริดสีดวง อาพาธมีเสมหะเป็นสมุฏฐาน อาพาธมีลมเป็นสมุฏฐาน
อาพาธมีไข้อาทิผิด สันนิบาต อาพาธอันเกิดแต่ฤดูแปรปรวน อาพาธอันเกิดแต่
การบริหารไม่สม่ำเสมอ อาพาธอันเกิดแต่ความเพียรเกินกำลัง อาพาธ
อัน เกิดแต่วิบากของกรรม ความหนาว ความร้อน ความหิว ความ
ระหาย ปวดอุจจาระ ปวดปัสสาวะ ย่อมพิจารณาเห็นโดยความเป็นโทษ
ในกายนี้ ด้วยประการดังนี้ ดูก่อนอานนท์ นี้เรียกว่า อาทีนวสัญญา.
ดูก่อนอานนท์ ก็ปหานสัญญาเป็นไฉน ดูก่อนอานนท์ ภิกษุใน
ธรรมวินัยนี้ ย่อมไม่ยินดี ย่อมละ ย่อมบรรเทา ย่อมทำให้หมดสิ้นไป
ย่อมทำให้ถึงความไม่มี ซึ่งกามวิตกอันเกิดขึ้นแล้ว ย่อมไม่ยินดี ย่อมละ
ย่อมบรรเทา ย่อมทำให้หมดสิ้นไป ย่อมทำให้ถึงความไม่มี ซึ่งพยาบาท
วิตกอันเกิดขึ้นแล้ว ย่อมไม่ยินดี ย่อมละ ย่อมบรรเทา ย่อมทำให้หมด
สิ้นไป ย่อมทำให้ถึงความไม่มี ซึ่งวิหิงสาวิตกอันเกิดขึ้นแล้ว ย่อมไม่ยินดี
ย่อมละ ย่อมบรรเทา ย่อมทำให้หมดสิ้นไป ย่อมทำให้ถึงความไม่มี ซึ่ง
อกุศลธรรมทั้งหลายอันชั่วช้า อันเกิดขึ้นแล้ว เกิดขึ้นแล้ว ดูก่อนอานนท์
นี้เรียกว่า ปหานสัญญา.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 二月 24, 2019

Anan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 71/241/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สกจิตตนิยวรรคที่ ๗
สกจิตตนิยเถราปทานที่ ๑ (๖๑)
ว่าด้วยผลแห่งการถวายสถูป
[๖๓] เราได้เห็นป่าชัฏใหญ่สงัดเสียง ปราศจากอันตราย เป็น
ที่อยู่อาศัยของพวกฤๅษี ดังกับจะรับเครื่องบูชา เราจึงเอา
ไม้ไผ่มาทำเป็นสถูป แล้วเกลี่ย (โปรย) ดอกไม้ต่าง ๆ ได้
ไหว้พระสถูป ดุจถวายบังคมพระสัมพุทธเจ้า ซึ่งยังทรง
พระชนม์อยู่เฉพาะพระพักตร์.
เราได้เป็นพระราชาสมบูรณ์ด้วยรัตนะ ๗ ประการ เป็น
ใหญ่ในแว่นแคว้น ยินดียิ่งในกรรมของตน นี้เป็นผลแห่ง
การบูชาด้วยดอกไม้.
ในกัปที่ ๙๑ แต่กัปนี้ เราโปรยดอกไม้ใด ด้วยกรรมนั้น
เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ในกัปที่ ๘๐ เรา
ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ มียศอนันต์อาทิผิด สมบูรณ์ด้วยแก้ว
ประการ เป็นใหญ่ในทวีปทั้ง ๔.
คุณวิเศษเหล่านี้ คือปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และ
อภิญญา ๖ เราทำให้แจ้งชัดแล้ว คำสอนของพระพุทธเจ้า
เราได้ทำเสร็จแล้ว ดังนี้.
ทราบว่า ท่านพระสกจิตตนิยเถระได้กล่าวคาถาเหล่านั้น ด้วยประการ
ฉะนี้แล
จบสกจิตตนิยเถราปทาน
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 二月 23, 2019

Chawi Wan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 71/250/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ปรัปปสาทกเถราปทานที่ ๔ (๖๔)
ว่าด้วยผลแห่งการสรรเสริญ
[๖๖] ใครได้เห็นพระสัมพุทธเจ้าผู้องอาจ ผู้ประเสริฐ ผู้
แกล้วกล้า ผู้แสวงหาคุณใหญ่ ทรงชนะวิเศษ มีพระฉวีรรณอาทิผิด สระ
ดังทองแล้ว จะไม่เลื่อมใสเล่า.
ใครเห็นพระญาณอาทิผิด ของพระพุทธเจ้า อันเปรียบเหมือน
ภูเขาหิมวันต์อันประมาณไม่ได้ ดังสาครอันข้ามได้ยาก แล้ว
จะไม่เลื่อมใสเล่า ใครเห็นศีลของพระพุทธเจ้า ซึ่งเปรียบ
เหมือนแผ่นดินอันประมาณมิได้ ดุจมาลัยประดับศีรษะอัน
วิจิตรฉะนั้นแล้ว จะไม่เลื่อมใสเล่า.
ใครเห็นพระญาณของพระพุทธเจ้า ซึ่งเปรียบดังอากาศ
อันไม่กำเริบ ดุจอากาศอันนับไม่ได้ฉะนั้นแล้ว จะไม่เลื่อมใส
เล่า.
พราหมณ์ชื่อว่าโสนะ ได้สรรเสริญพระพุทธเจ้าผู้ประ-
เสริฐสุด พระนามว่าสิทธัตถะ ผู้ไม่ทรงแพ้อะไร ด้วยคาถา
๔ คาถานี้แล้ว ไม่ได้เข้าถึงทุคติเลย ตลอด ๙๔ กัป เราได้
เสวยสมบัติอันดีงามมิใช่น้อยในสุคติทั้งหลาย.
ในกัปที่ ๙๔ แต่กัปนี้ เราสรรเสริญพระพุทธเจ้าผู้นำของ
โลกแล้ว ไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการสรรเสริญ.
ในกัปที่ ๑๔ แต่กัปนี้ ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๔ ครั้ง
ผู้สูงศักดิ์ทรงสมบูรณ์ด้วยรัตนะ ๗ ประการ มีพละมาก.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 二月 21, 2019

Chua

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 26/274/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ปเทสญาณ ความรู้บางส่วน ปัจจยาการนี้ย่อมปรากฏเหมือนง่ายแก่เราเท่า
นั้นหรือหนอ หรือว่าปรากฏแก่ภิกษุเหล่าอื่นด้วย” ท่านพระอานนท์คิดว่า
“เราจักกราบทูลเหตุที่ปรากฏแก่ตนแด่พระศาสดา” จึงลุกจากที่นั่ง ตบ
แผ่นหนังแล้วถือเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าในเวลาเย็น. เพราะฉะนั้น
ท่านจึงกล่าวว่า “พระอานนท์เข้าไปเฝ้าในเวลาเย็น ด้วยเหตุเพื่อทูลถาม
ปัญหาเรื่องปัจจยาการ.”
ยาว ศัพท์ ในคำว่า ยาวคมฺภีโร นี้ เป็นไปในการก้าวล่วงเกิน
ประมาณ คือลึกเกินประมาณ. อธิบายว่า ลึกซึ้งอย่างยิ่ง. บทว่า
“คมฺภีราวภาโส มีเนื้อความลึกซึ้ง” อธิบายว่า ส่องสว่าง คือปรากฏลึกซึ้ง
โดยแท้. จริงอยู่น้ำแห่งหนึ่ง เพียงตื้น ๆ เท่านั้น แต่มีกระแสลึก เหมือน
น้ำเก่าอันมีสีดำด้วยอำนาจรสใบไม้เน่า. เพราะว่า น้ำนั้น แม้ลึกแค่เข่า
ก็ปรากฏเหมือนลึกตั้งร้อยชั่วบุรุษ. น้ำบางแห่งลึก แต่มีกระแสตื้น
เหมือนน้ำอันใสแจ๋วแห่งมณีคงคา เพราะน้ำนั้น แม้น้ำลึกตั้งร้อยชั่วบุรุษ
ก็ปรากฏเหมือนลึกแค่เข่า. เพราะน้ำนั้น แม้น้ำลึกตั้งร้อยชั่วอาทิผิด อักขระบุรุษ
ก็ปรากฏเหมือนลึกแค่เข่า. น้ำบางแห่งตื้น และก็มีกระแสน้ำตื้นด้วย
เหมือนน้ำในตุ่มเป็นต้น. น้ำบางแห่งลึก และก็มีกระแสลึกด้วย เหมือน
น้ำในมหาสมุทรเชิงภูเขาสิเนรุ. น้ำย่อมได้ชื่อ ๔ อย่าง ด้วยประการ
ฉะนี้แล. แต่ความตื้นความลึกย่อมไม่มีในปฏิจจสมุปบาท. เพราะว่า
ปฏิจจสมุปบาทนี้ ได้ชื่อว่าเพียงอย่างเดียวเท่านั้นว่า “ลึกซึ้ง และมีกระแส
ความลึกซึ้ง.” พระอานนท์เมื่อจะประกาศความอัศจรรย์ในของตนอย่างนี้ว่า
“ปฏิจจสมุปบาทเห็นปานนี้ แต่ก็ปรากฏเหมือนเป็นธรรมง่าย ๆ สำหรับ
ข้าพระองค์. ข้อนี้ น่าอัศจรรย์ พระเจ้าข้า ไม่เคยมีมา พระเจ้าข้า”
จึงทูลถามปัญหาแล้ว ได้นั่งนิ่งอยู่.
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 二月 16, 2019

That

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 77/279/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๑๓. ปิฏฐิทุกวิสัชนา
[๑๔๓] ธาตุ ๑๖ เป็นนทัสสนปหาตัพพะ ธาตุ ๒ เป็นทัสสนปหา-
ตัพพะก็มี เป็นนทัสสนปหาตัพพะก็มี ธาตุ ๑๖ เป็นนภาวนาปหาตัพพะ ธาตุ ๒
เป็นภาวนาปหาตัพพะก็มี เป็นนภาวนาปหาตัพพะก็มี ธาตุ ๑๖ เป็นนทัสสน-
ปหาตัพพเหตุกะ ธาตุ ๒ เป็นทัสสนปหาตัพพเหตุกะก็มี เป็นนทัสสนปหา-
ตัพพเหตุกะก็มี ธาตุ ๑๖ เป็นนภาวนปหาตัพพเหตุกะ ธาตุ ๒ เป็นภาวนา-
ปหาตัพพเหตุกะก็มี เป็นนภาวนาปหาตัพพเหตุกะก็มี ธาตุ ๑๕ เป็นอวิตักกะ
มโนวิญญาณธาตุเป็นสวิตักกะ ธาตุ ๒ เป็นสวิตักกะก็มี เป็นอวิตักกะก็มี
ธาตุ ๑๕ เป็นอวิจาระ มโนธาตุ เป็นสวิจาระ ธาตุ ๒ เป็นสวิจาระก็มี เป็น
อวิจาระก็มี ธาตุ ๑๖ เป็นอัปปีติกะ ธาตุ ๒ เป็นสัปปีติกะก็มี เป็นอัปปีติกะ
ก็มี ธาตุ ๑๖ เป็นนปีติสหคตะ ธาตุ ๒ เป็นปีติสหคตะก็มี เป็นนปีติสหคตะ
ก็มี ธาตุ ๑๕ เป็นนสุขสหคตะ ธาตุ ๓ เป็นสุขสหคตะก็มี เป็นนสุขสหคตะ
ก็มี ธาตุ ๑๑ เป็นนอุเปกขาสหคตะอาทิผิด อักขระ ธาตุ ๕ เป็นอุเปกขาสหคตะ ธาตุอาทิผิด อักขระ ๒ เป็น
อุเปกขาสหคตะก็มี เป็นนอุเปกขาสหคตะก็มี ธาตุ ๑๖ เป็นกามาวจร ธาตุ ๒
เป็นกามาวจรก็มี เป็นนกามาวจรก็มี ธาตุ ๑๖ เป็นอาทิผิด อักขระรูปาวจร ธาตุ ๒ เป็น
รูปาวจรก็มี เป็นนรูปาวจรก็มี ธาตุ ๑๖ เป็นอรูปาวจร ธาตุ ๒ เป็น
อรูปาวจรก็มี เป็นนอรูปาวจรก็มี ธาตุ ๑๖ เป็นปริยาปันนะ ธาตุ ๒ เป็น
ปริยาปันนะก็มี เป็นอปริยาปันนะก็มี ธาตุ ๑๖ เป็นอนิยยานิกะ ธาตุ ๒ เป็น
นิยยานิกะก็มี เป็นอนิยยานิกะก็มี ธาตุ ๑๖ เป็นอนิยตะ ธาตุ ๒ เป็นนิยตะก็มี
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 二月 15, 2019

Butsarakham

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 3/946/9  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

星期三, 二月 13, 2019

Diaratchan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 39/207/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
วรรณะ ๕ เสมือนบานประตูแก้วมณีที่เปิดในรัตนวิมาน เขาจะได้สมบัติใน
เทวดาเเละมนุษย์ ประมาณแสนกัป ข้อที่เขาเกิดเป็นมนุษย์เป็นคนมีปัญญา
พึงเสวยวิปากสมบัติเห็นปานนี้ ก็ด้วยบุญที่สำเร็จมาแต่การเห็นสมณะ ซึ่งเขา
ประพฤติมาโดยชอบ ไม่น่าอัศจรรย์เลย แม้สำหรับสัตว์เดียรัจฉานอาทิผิด อักขระ บัณฑิต
ทั้งหลาย ก็พรรณนาวิบากสมบัติของการเห็นสมณะ ที่เพียงทำศรัทธาให้เกิดแล้ว
อย่างเดียวไว้อย่างนี้ ในบาลีประเทศใด บาลีประเทศนั้นมีว่า
นกฮูก ตากลม อาศัยอยู่ที่เวทิยกบรรพตมาตลอด
กาลยาวนาน นกฮูกตัวนี้สุขแท้หนอ เห็นพระพุทธเจ้า
ผู้ประเสริฐอาทิผิด อักขระ ซึ่งลุกขึ้นแต่เช้า.
มันทำจิตให้เลื่อมใสในตัวเรา และภิกษุสงฆ์ผู้
ยอดเยี่ยม ไม่ต้องไปทุคติถึงแสนกัป มันจุติจากเทวโลก
อันกุศลกรรมตักเตือนแลัวจักเป็นพระพุทธะ ผู้มีอนัน-
ญาณอาทิผิด อักขระ ปรากฏพระนามว่า โสมนัสสะ ดังนี้.
ในเวลาพลบค่ำ หรือในเวลาย่ำรุ่ง ภิกษุฝ่ายพระสูตร ๒ รูป ย่อม
สนทนาพระสูตรกัน ฝ่ายพระวินัยก็สนทนาพระวินัยกัน ฝ่ายพระอภิธรรมก็
สนทนาพระอภิธรรมกัน ฝ่ายชาดกก็สนทนาชาดกกัน ฝ่ายอรรถกถาก็สนทนา
อรรถกถากันหรือสนทนากันในกาลนั้นๆ เพื่อชำระจิตที่ถูกความหดหู่อาทิผิด อาณัติกะ ความ
ฟุ้งซ่านและความสงสัยชักนำไป การสนทนาตามกาลนี้ ชื่อว่า การสนทนาธรรม
ตามกาล การสนทนาธรรมตามกาลนั้น ตรัสว่าเป็นมงคล เพราะเป็นเหตุแห่ง
คุณทั้งหลายมีความฉลาดในอาคมคือนิกายทั้ง ๕ เป็นต้นแล.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสมงคลแห่งคาถานี้ไว้ มงคล คือ ความอดทน
๑ ความเป็นผู้ว่าง่าย ๑ การเห็นสมณะ ๑ และการสนทนาธรรมตามกาล ๑
ด้วยประการฉะนี้. ก็ความที่มงคลเหล่านั้นเป็นมงคลอาทิผิด อักขระ ได้ชี้แจงไว้ในมงคล
นั้น ๆ แล้วทั้งนั้นแล.
จบพรรณนาความแห่งคาถาว่า ขนฺตึ จ
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 二月 12, 2019

Satsada

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 27/232/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
(ทันทีที่เห็น) ใจก็สงบเยือกเย็นประหนึ่งความร้อนที่ ถูกดับด้วยน้ำพันหม้อ.
ได้ยืนอยู่ใกล้พระศาสดาอาทิผิด อักขระ.
นับแต่นั้นมา ช้างนั้นก็ทำวัตรปฏิบัติถวายพระศาสดา ถวายน้ำ
บ้วนพระโอษฐ์ นำน้ำสรงมาถวาย ถวายไม้สีฟัน กวาดบริเวณ
นำผลไม้มีรสอร่อยจากป่ามาถวายพระศาสดาอาทิผิด อักขระ. พระศาสดาก็ทรงเสวย.
คืนวันหนึ่ง พระศาสดาเสด็จจงกรมแล้วประทับนั่งบนแผ่นหิน.
ฝ่ายช้างพลายก็ยืนอยู่ในที่ใกล้ๆ. พระศาสดาอาทิผิด อักขระทรงเหลียวมองด้าน
พระปฤษฎางค์แล้ว มองไม่เห็นใคร ๆ เลย เหลียวมองด้านหน้าและ
ด้านพระปรัศว์ทั้งสอง ก็มองไม่เห็นใคร ๆ เลยอย่างนั้น (เหมือนกัน).
ขณะนั้นพระองค์เกิดพระดำริขึ้นว่า สุขแท้หนอ ที่เราตถาคต
อยู่แยกจากภิกษุผู้ก่อความบาดหมางกันเหล่านั้น. ฝ่ายช้างพลายก็คิดถึง
เหตุเป็นต้นว่า ไม่มีช้างเหล่าอื่นคอยเคี้ยวกินกิ่งไม้ที่เราโน้มลง แล้ว
เกิดความคิดขึ้นว่า สุขแท้หนอที่เราอยู่ช้างเดียว เราได้ทำวัตรถวาย
พระศาสดา.
พระศาสดาตรวจดูพระดำริของพระองค์แล้วทรงดำริว่า จิต
ของเราตถาคตเป็นเช่นนี้ก่อน จิตของช้างเป็นเช่นไรหนอแล ทรงเห็น
จิตของช้างนั้นเป็นเช่นนั้นเหมือนกัน จึงทรงดำริว่า จิตของเราทั้งสอง
เหมือนกัน ดังนี้แล้ว ทรงเปล่งอุทานนี้ว่า
จิตของช้างตัวประเสริฐผู้มีงางอน กับจิต
อันประเสริฐ (ของเราตถาคต) นี้ ย่อมเข้ากันได้
(และ) ไม่ว่าจะเป็นใคร ถ้ายินดีอยู่ในป่า (จิต
ของเขากับจิตของเราตถาคตย่อมเข้ากันได้ทั้งนั้น)
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 二月 10, 2019

Fanfuean

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 6/270/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
องค์ ๕ แห่งภิกษุผู้ไม่ต้องถือนิสัย
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ ไม่ต้องถือนิสัยอยู่ คือ:-
๑. ประกอบด้วยกองศีล อันเป็นของพระอเสขะ.
๒. ประกอบด้วยกองสมาธิ อันเป็นของพระอเสขะ.
๓. ประกอบด้วยกองปัญญา อันเป็นของพระอเสขะ.
๔. ประกอบด้วยกองวิมุตติ อันเป็นของพระอเสขะ และ
๕. ประกอบด้วยกองวิมุตติญาณทัสสนะ อันเป็นของพระอเสขะ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่ต้องถือ
นิสัยอยู่.

องค์ ๕ แห่งภิกษุต้องถือนิสัย
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก จะไม่ถือ
นิสัยอยู่ ไม่ได้ คือ:-
๑. เป็นผู้ไม่มีศรัทธา.
๒. เป็นผู้ไม่มีหิริ.
๓. เป็นผู้ไม่มีโอตตัปปะ.
๔. เป็นผู้เกียจคร้าน และ
๕. เป็นผู้มีสติฟั่นเฟือนอาทิผิด อาณัติกะ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล จะไม่ถือนิสัยอยู่
ไม่ได้.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 二月 07, 2019

Uat Ang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 26/646/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
แล้ว อวดอาทิผิด อักขระอ้างที่ท่ามกลางหมู่ภิกษุว่า ผมฉันพอแก่ความต้องการแล้ว
ทายกยังนิมนต์เพื่อให้ฉันในวันรุ่งขึ้น บิณฑบาตของผมก็เต็ม และยังจะ
ได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัชบริขารอีก ส่วนภิกษุ
เหล่าอื่นนี้มีบุญน้อย มีศักดิ์น้อย จึงไม่ได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ
และคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร เธออันลาภสักการะและความสรรเสริญ
ครอบงำย่ำยีจิตแล้ว ย่อมดูหมิ่นภิกษุเหล่าอื่นผู้มีศีลเป็นที่รัก ข้อนั้นของ
โมฆบุรุษนั้นย่อมเป็นไปเพื่อสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ เพื่อทุกข์สิ้นกาลนาน
ลาภสักการะและความสรรเสริญ ทารุณ ฯ ล ฯ อย่างนี้แล เธอทั้งหลาย
พึงศึกษาอย่างนี้แหละ.
จบเอฬกสูตรที่ ๕

อรรถกถาเอฬกสูตรที่ ๕

พึงทราบวินิจฉัยในเอฬกสูตรที่ ๕ ดังต่อไปนี้.
บทว่า กํสฬกา คือสัตว์กินคูถ. บทว่า คูถาทิ คือมีคูถ
เป็นภักษา. บทว่า คูถปูรา คือภายในเต็มด้วยคูถ. บทว่า ปุณฺณา
คูถสฺส นี้ แสดงเนื้อความบทแรกเท่านั้น. บทว่า อติมญฺเญยฺย ความว่า
แมลงวันวางเท้าหลังไว้บนพื้น ยกเท้าหน้าวางไว้บนคูถ พึงพูดอย่างดูหมิ่น
ว่า เรามีคูถเป็นอาหาร ดังนี้เป็นต้น. บทว่า ปิณฺฑปาโตปสฺส ปูโร
ความว่า บิณฑบาตอันประณีตเต็มบาตร แม้อื่นอีกพึงมีแก่เขา.
จบอรรถกถาเอฬกอาทิผิด อักขระสูตรที่ ๕

๑. ม. ปิณฺฑปาโต จสฺส.
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 二月 06, 2019

Maha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 17/388/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
มนุษย์) นอกจากนี้ก็เหมือนกัน. และซากศพทั้ง ๓ นี้นั้นแหละพึงทราบ
ว่า ท่านพระสารีบุตรกล่าวไว้แล้ว ในคำอุปมานี้ เพราะความเป็นของ
ปฏิกูลอาทิผิด อักขระและน่าเกลียดเหลือเกิน. ความจริงซากศพของสัตว์เหล่าอื่นมีสัตว์
เลี้ยงและสุกรเป็นต้น คนทั้งหลายปรุงกับเครื่องเผ็ดร้อนเป็นต้น (เครื่อง
แกง ) รับประทานก็มี. แต่ซากศพของสุนัขและมนุษย์เหล่านี้ ถึงจะยัง
ใหม่ คนทั้งหลายก็ยังรังเกียจอยู่ จะกล่าวไปไยถึงซากศพที่ล่วงเลยเวลา
ไปแล้ว ที่เน่าแล้ว ไม่ต้องพูดถึง.
บทว่า รจยิตฺวา ( วางไว้ ) คือเพิ่มเข้าไป หมายความว่า บรรจุ
ให้เต็ม. มีคำอธิบายไว้ว่า เอาซากศพนั้นบรรจุไว้ในถาดทองสัมฤทธิ์.
บทว่า อญฺญิสฺสา แปลว่า (ด้วยถาดสัมฤทธิ์) ใบอื่น.
บทว่า ปฏิกุชฺชิตฺวา (ครอบ) คือ ปิด.
บทว่า อนฺตราปณํ (ระหว่างตลาด ) คือปากซอยที่มีมหาชนอาทิผิด อักขระ
หนาแน่นในท้องตลาด.
บทว่า ปฏิปชฺเชยฺยุํ (พึงดำเนินไป) คือพึงเดินไป.
บทว่า ชญฺญชญฺญํ วิย (เหมือนจะน่ารู้ น่าสนใจ) ความว่า
เหมือนจะเลอเลิศ คือ เหมือนจะน่าพออกพอใจ. อีกอย่างหนึ่ง มีคำ
อธิบายว่า เหมือนหญิงสาวนำเครื่องบรรณาการมา. ความจริงหญิงสาว
เขาเรียกว่า แม่หญิง. บรรณาการที่หญิงสาวนั้นกำลังนำมาเป็นสิ่งที่น่ารู้
ท่านจึงได้กล่าวไว้ในคำทั้งคู่ ด้วยอำนาจแห่งความเอื้อเฟื้อบ้าง ด้วย
อำนาจแห่งการสรรเสริญบ้าง. ปาฐะว่า ชญฺญํ ชญฺญํ วิย ดังนี้ก็มี.
บทว่า อปาปุริตฺวา (ไม่ปิด ) คือเปิด.
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 二月 05, 2019

Chamrut

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 2/244/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อาคันตุกะทั้งหลาย ไม่ควรตั้งอาทิผิด อักขระอยู่ในข้อกติกา ของพวกภิกษุเจ้าถิ่น ต้นไม้
เหล่าใด ที่ทายกถวายไว้เพื่อให้เป็นประโยชน์แก่การบริโภคผล และพวกภิกษุ
เจ้าถิ่น ก็รักษาปกครองอาทิผิด อักขระต้นไม้เหล่านั้นไว้ นำไปใช้สอยโดยชอบ, ในต้นไม้
เหล่านั้นนั่นแหละ พระอาคันตุกะทั้งหลาย ควรตั้งอยู่ในข้อกติกา ของพวก
ภิกษุเจ้าถิ่นเหล่านั้น.
ส่วนในมหาปัจจรี ท่านกล่าวไว้ว่า ภิกษุเมื่อฉันผลไม้ ที่ทายกกำหนด
ถวายไว้เพื่อปัจจัย ๔ ด้วยไถยจิต พึงให้ตีราคาสิ่งของปรับอาบัติ, เมื่อแจกกัน
ฉันด้วยอำนาจการบริโภค เป็นภัณฑไทย, ก็บรรดาผลไม้เหล่านั้น เมื่อภิกษุ
แจกกันฉันผลไม้ที่ทายกกำหนดไว้ เพื่อประโยชน์แก่เสนาสนะ ด้วยอำนาจ
การบริโภค เป็นถุลลัจจัยด้วย เป็นภัณฑไทยด้วย.
ผลไม้ที่ทายกอุทิศถวายไว้ เพื่อประโยชน์แก่จีวร ควรน้อมเข้าไปใน
จีวรเท่านั้น ถ้าเป็นวัดที่มีภิกษาหาได้โดยยาก ภิกษุทั้งหลาย ย่อมลำบากด้วย
บิณฑบาต ส่วนจีวรหาได้ง่าย จะทำอปโลกนกรรมเพื่อความเห็นชอบแห่งสงฆ์
แล้วน้อมเข้าไปในอาทิผิด สระบิณฑบาต ก็ควร. เมื่อลำบากอยู่ด้วยเสนาสนะ หรือคิลาน-
ปัจจัย จะทำอปโลกนกรรมเพื่อความเห็นชอบแห่งสงฆ์ แล้วน้อมเข้าไปเพื่อ
ประโยชน์แก่เสนาสนะและคิลานปัจจัยนั้น ก็ควร. แม้ในผลไม้ที่ทายกอุทิศ
ถวายไว้ เพื่อประโยชน์แก่บิณฑบาต และเพื่อประโยชน์แก่คิลานปัจจัย ก็มีนัย
เหมือนกันนี้. ส่วนสิ่งของที่ทายกอุทิศถวายไว้ เพื่อประโยชน์แก่เสนาสนะ
เป็นครุภัณฑ์, ควรรักษาปกครองอาทิผิด อักขระสิ่งนั้นไว้ แล้วน้อมเข้าไปเพื่อประโยชน์แก่
เสนาสนะนั้นเท่านั้น. ก็ถ้าเป็นวัดที่ภิกษาหาได้โดยยาก ภิกษุทั้งหลายจะเลี้ยง
อัตภาพให้เป็นไปด้วยบิณฑบาตไม่ได้, ในวัดหรือรัฐนี้ วิหารของพวกภิกษุผู้
อพยพไปในที่อื่น เพราะราชภัย โรคภัย และโจรภัยเป็นต้น ย่อมชำรุดอาทิผิด อักขระไป ,
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 二月 04, 2019

Prahan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 12/84/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ของพวกเราเคยทำมาแล้ว ดังนี้ แม้เขาจะเป็นคนเข็ญใจในภายหลังก็ควร
ให้ทำต่อไป ตามที่สืบต่อกันมาของตระกูล. ได้ยินว่า ทานที่ถวายเจาะจง
ท่านผู้มีศีลเป็นประจำ เห็นปานนี้ แม้พวกยากจนในตระกูล ย่อมไม่ตัด
เสีย. ในข้อนี้มี เรื่องดังต่อไปนี้.
ได้ยินว่า ในเรือนของอนาถปิณฑิกะ ชนทั้งหลายถวายนิตยภัตร
๕๐๐ ที่ ได้มีสลากทำด้วยงา ๕๐๐ อัน. ต่อมาตระกูลนั้นถูกความยากจน
ครอบงำโดยลำดับ. เด็กหญิงคนหนึ่งในตระกูลนั้นไม่สามารถถวายยิ่งไป
กว่าสลากอันหนึ่งได้. แม้เด็กหญิงนั้นภายหลังถึงรัชสมัยของ พระเจ้า
เสตวาหนะ ก็ได้ถวายสลากนั้นด้วยข้าวเปลือกที่ล้างลานได้มา. พระเถระ-
รูปหนึ่งได้ถวายพระพรแด่พระราชา. พระราชาทรงพานางมาแล้วตั้งไว้ใน
ตำแหน่งอัครมเหสี. จำเดิมแต่กาลนั้น นางก็ได้ถวายสลากภัตร ๕๐๐ ที่อีก.
บทว่า การประหารอาทิผิด อักขระด้วยท่อนไม้ ความว่า การประหารด้วยท่อนไม้
บ้าง การจับที่คอบ้าง ที่เขากล่าวคำเป็นต้นว่า พวกเจ้าจงยืน พวกเจ้าจง
ยืนตามลำดับ ดังนี้. และว่า พวกเจ้าจงจับ พวกเจ้าจงจับ ทำให้ตรง
ดังนี้ ให้อยู่ ยังปรากฏอยู่. ในบทนี้ว่า พราหมณ์นี้แล เป็นเหตุ ฯลฯ
มีอานิสงส์มากกว่า ความว่า ความต้องการด้วยคนที่จะทำการช่วยเหลือ
หรือด้วยเครื่องอุปกรณ์เป็นอันมากมิได้มีในสลากภัตรนี้ เหมือนในมหายัญ
เพราะฉะนั้น ทานนั้นจึงชื่อว่า ใช้ทรัพย์สินน้อยกว่า. การเตรียมการ กล่าว
คือ การเบียดเบียน ด้วยอำนาจการตัดรอนแห่งกรรมของชนหมู่มากในทานนี้
ไม่มี เพราะเหตุนั้น ทานนี้จึงชื่อว่า มีการตระเตรียมน้อยกว่า. อนึ่ง ทานนี้
เขาถวายคือบริจาคแก่สงฆ์ เพราะฉะนั้น ท่านจึงเรียกว่า ยัญ. ก็ทานนี้มิใช่
เป็นของที่จะทำได้ง่ายนัก เพื่อกระทำการกะกำหนดอันหลั่งไหลมาของ
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 二月 03, 2019

Samat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 15/60/2  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ฉันใด ปัญญาของพระสมณโคดมหายไปในสุญญาคาร พระสมณโคดม
ไม่กล้าเข้าสู่ที่ประชุม ไม่สามารถอาทิผิด อักขระเจรจา พระองค์ท่านทรงเสพที่อันสงัด
ณ ภายในอย่างเดียว ฉันนั้นเหมือนกัน เชิญเถิด คฤหบดี ขอเชิญพระ
สมณโคดมเสด็จมาสู่ที่ประชุมนี้ พวกเราจะพึงเหยียดหยามพระองค์ด้วย
ปัญหาข้อหนึ่ง พวกเราจะบีบรัดพระองค์เหมือนบุคคลบีบรัดหม้อเปล่าอาทิผิด อักขระ
ฉะนั้น

เรื่องนิโครธปริพาชก

[๒๑] พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ทรงสดับการเจรจาระหว่าง
สันธานคฤหบดีกับนิโครธปริพาชกนี้ด้วยพระทิพยโสตธาตุ อันบริสุทธิ์
ล่วงโสตธาตุของมนุษย์. ครั้งนั้น สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จลงจาก
ภูเขาคิชฌกูฏแล้ว เสด็จเข้าไปยังสถานที่ให้เหยื่อแก่นกยูง ที่ฝั่งสระโบก-
ขรณีสุมาคธา ครั้นแล้ว เสด็จจงกรมอยู่ ในที่แจ้ง ณ สถานที่ให้เหยื่อ
แก่นกยูง ที่ฝั่งสระโบกขรณีสุมาคธา นิโครธปริพาชกเห็นพระผู้มีพระ-
ภาคเจ้าเสด็จจงกรมอยู่ในที่แจ้ง ณ สถานที่ให้เหยื่อแก่นกยูง ที่ฝั่งสระ
โบกขรณีสุมาคธา จึงเตือนบริษัทของตนให้สงบเสียงว่า ขอท่านทั้งหลาย
จงสงบเสียง อย่าส่งเสียงดังนัก พระสมณโคดมนี้เสด็จจงกรมอยู่ในที่แจ้ง
ณ สถานที่ให้เหยื่อแก่นกยูง ที่ฝั่งสระโบกขรณีสุมาคธา พระองค์โปรด
เสียงเบา และกล่าวสรรเสริญคุณของเสียงเบา บางที พระองค์ทรงทราบ
ว่า บริษัทนี้มีเสียงเบาแล้ว พึงเห็นความสำคัญที่จะเสด็จเข้าไปก็ได้ ถ้า
ว่า พระสมณโคดมจะพึงเสด็จมาสู่ที่ประชุมนี้ เราจะพึงทูลถามปัญหากะ
พระองค์ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแนะนำพระ
สาวก ด้วยธรรมใด สาวกอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแนะนำแล้วถึงความ
เบาใจ ย่อมรู้เฉพาะซึ่งอาทิพรหมจรรย์ อันเป็นอัชฌาศัย ด้วยธรรมใด
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 二月 02, 2019

Khiao

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 39/63/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
กำหนดโดย สัณฐาน ว่ากระดูกมีสัณฐานต่าง ๆ กัน . จริงอย่างนั้น
บรรดากระดูกเหล่านั้น กระดูกปลายนิ้วเท้า มีสัณฐานเหมือนเมล็ดตุมกา ต่อ
จากนั้น กระดูกข้อกลางของนิ้วเท้า มีสัณฐานเหมือนเมล็ดขนุนที่ไม่เต็ม
กระดูกข้อต้น มีสัณฐานเหมือนบัณเฑาะว์ อาจารย์พวกหนึ่งกล่าวว่า มีสัณ-
ฐานเหมือนเกล็ดหางนกยูงดังนี้ก็มี กระดูกหลังเท้า มีสัณฐานเหมือนกองราก
ต้นกันทละตำ กระดูกส้นเท้า มีสัณฐานเหมือนเมล็ดผลตาลซึ่งมีเมล็ดเดียว
กระดูกข้อเท้า มีสัณฐานเหมือนลูกกลมของเล่นที่ผูกรวมกัน กระดูกชิ้นเล็กใน
กระดูกแข้งอาทิผิด อาณัติกะ มีสัณฐานเหมือนคันธนู กระดูกชิ้นใหญ่มีสัณฐานเหมือนเส้นเอ็น
แห้งเพราะหิวระหาย ที่กระดูกแข้งตั้งอยู่ในกระดูกข้อเท้า มีสัณฐาน
เหมือนหน่อต้นเป้งลอกเปลือก ที่กระดูกแข้งตั้งอยู่ในกระดูกเข่า มีสัณฐาน
เหมือนยอดตะโพน กระดูกเข่า มีสัณฐานเหมือนฟองน้ำตัดข้างหนึ่ง กระดูก
ขาสัณฐานเหมือนด้ามมีดและขวานที่ถากอาทิผิด สระคร่าว ๆ ที่กระดูกขาตั้งอยู่ในกระดูก
สะเอว มีสัณฐานเหมือนคันหลอดอาทิผิด เป่าไฟของช่างทอง โอกาสที่กระดูกขาตั้ง
อยู่ในกระดูกสะเอวนั้น มีสัณฐานเหมือนผลบุนนาคตัดปลาย. กระดูกสะเอว
แม้มี ๒ ก็ติดเป็นอันเดียวกัน มีสัณฐานเหมือนเตาไฟที่ช่างหม้อสร้างไว้
อาจารย์พวกหนึ่งกล่าวว่า มีสัณฐานเหมือนหมอนข้างของดาบสดังนี้ก็มี. กระดูก
ตะโพก มีสัณฐานเหมือนคราบงูที่เขาวางคว่ำหน้า กระดูกสันหลัง ๑๘ ชิ้นมี
ช่องเล็กน้อยในที่ ๗- ๘ แห่ง ภายในมีสัณฐานเหมือผืนผ้าโพกศีรษะที่วาง
ซ้อน ๆ กัน ภายนอก มีสัณฐานเหมือนแล่งกลม กระดูกสันหลังเหล่านั้น
มีหนามอาทิผิด อักขระ ๒ - ๓ อัน เสมือนฟันเลื่อย. บรรดากระดูกซี่โครง ๒๔ ชิ้น ส่วน
ที่บริบูรณ์ มีสัณฐานเหมือนเคียวอาทิผิด อักขระชาวสิงหลที่บริบูรณ์ ส่วนที่ไม่บริบูรณ์ มี
สัณฐานเหมือนเคียวชาวสิงหลที่ไม่บริบรูณ์ อาจารย์พวกหนึ่งกล่าวว่า ทั้งหมด
 
พระปิฎกธรรม