Uat Ang
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 26/646/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
แล้ว อวดอาทิผิด อักขระอ้างที่ท่ามกลางหมู่ภิกษุว่า ผมฉันพอแก่ความต้องการแล้ว
ทายกยังนิมนต์เพื่อให้ฉันในวันรุ่งขึ้น บิณฑบาตของผมก็เต็ม และยังจะ
ได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัชบริขารอีก ส่วนภิกษุ
เหล่าอื่นนี้มีบุญน้อย มีศักดิ์น้อย จึงไม่ได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ
และคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร เธออันลาภสักการะและความสรรเสริญ
ครอบงำย่ำยีจิตแล้ว ย่อมดูหมิ่นภิกษุเหล่าอื่นผู้มีศีลเป็นที่รัก ข้อนั้นของ
โมฆบุรุษนั้นย่อมเป็นไปเพื่อสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ เพื่อทุกข์สิ้นกาลนาน
ลาภสักการะและความสรรเสริญ ทารุณ ฯ ล ฯ อย่างนี้แล เธอทั้งหลาย
พึงศึกษาอย่างนี้แหละ.
จบเอฬกสูตรที่ ๕
อรรถกถาเอฬกสูตรที่ ๕
พึงทราบวินิจฉัยในเอฬกสูตรที่ ๕ ดังต่อไปนี้.
บทว่า กํสฬกา คือสัตว์กินคูถ. บทว่า คูถาทิ คือมีคูถ
เป็นภักษา. บทว่า คูถปูรา คือภายในเต็มด้วยคูถ. บทว่า ปุณฺณา
คูถสฺส นี้ แสดงเนื้อความบทแรกเท่านั้น. บทว่า อติมญฺเญยฺย ความว่า
แมลงวันวางเท้าหลังไว้บนพื้น ยกเท้าหน้าวางไว้บนคูถ พึงพูดอย่างดูหมิ่น
ว่า เรามีคูถเป็นอาหาร ดังนี้เป็นต้น. บทว่า ปิณฺฑปาโตปสฺส๑ ปูโร
ความว่า บิณฑบาตอันประณีตเต็มบาตร แม้อื่นอีกพึงมีแก่เขา.
จบอรรถกถาเอฬกอาทิผิด อักขระสูตรที่ ๕
๑. ม. ปิณฺฑปาโต จสฺส.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论