星期二, 二月 12, 2019

Satsada

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 27/232/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
(ทันทีที่เห็น) ใจก็สงบเยือกเย็นประหนึ่งความร้อนที่ ถูกดับด้วยน้ำพันหม้อ.
ได้ยืนอยู่ใกล้พระศาสดาอาทิผิด อักขระ.
นับแต่นั้นมา ช้างนั้นก็ทำวัตรปฏิบัติถวายพระศาสดา ถวายน้ำ
บ้วนพระโอษฐ์ นำน้ำสรงมาถวาย ถวายไม้สีฟัน กวาดบริเวณ
นำผลไม้มีรสอร่อยจากป่ามาถวายพระศาสดาอาทิผิด อักขระ. พระศาสดาก็ทรงเสวย.
คืนวันหนึ่ง พระศาสดาเสด็จจงกรมแล้วประทับนั่งบนแผ่นหิน.
ฝ่ายช้างพลายก็ยืนอยู่ในที่ใกล้ๆ. พระศาสดาอาทิผิด อักขระทรงเหลียวมองด้าน
พระปฤษฎางค์แล้ว มองไม่เห็นใคร ๆ เลย เหลียวมองด้านหน้าและ
ด้านพระปรัศว์ทั้งสอง ก็มองไม่เห็นใคร ๆ เลยอย่างนั้น (เหมือนกัน).
ขณะนั้นพระองค์เกิดพระดำริขึ้นว่า สุขแท้หนอ ที่เราตถาคต
อยู่แยกจากภิกษุผู้ก่อความบาดหมางกันเหล่านั้น. ฝ่ายช้างพลายก็คิดถึง
เหตุเป็นต้นว่า ไม่มีช้างเหล่าอื่นคอยเคี้ยวกินกิ่งไม้ที่เราโน้มลง แล้ว
เกิดความคิดขึ้นว่า สุขแท้หนอที่เราอยู่ช้างเดียว เราได้ทำวัตรถวาย
พระศาสดา.
พระศาสดาตรวจดูพระดำริของพระองค์แล้วทรงดำริว่า จิต
ของเราตถาคตเป็นเช่นนี้ก่อน จิตของช้างเป็นเช่นไรหนอแล ทรงเห็น
จิตของช้างนั้นเป็นเช่นนั้นเหมือนกัน จึงทรงดำริว่า จิตของเราทั้งสอง
เหมือนกัน ดังนี้แล้ว ทรงเปล่งอุทานนี้ว่า
จิตของช้างตัวประเสริฐผู้มีงางอน กับจิต
อันประเสริฐ (ของเราตถาคต) นี้ ย่อมเข้ากันได้
(และ) ไม่ว่าจะเป็นใคร ถ้ายินดีอยู่ในป่า (จิต
ของเขากับจิตของเราตถาคตย่อมเข้ากันได้ทั้งนั้น)
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: